การบริการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมในสังมพหุวัฒนธรรมโดยใช้ 4HN GOLD LAND MODEL เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านเขาพระ
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
กรอบแนวคิด รูปแบบการพัฒนาขับเคลื่อนนวัตกรรม การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมในสังคมพหุวัฒนธรรมโดยใช้ 4HN TO GOLD LAND MODEL พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านเขาพระ ทำโรงเรียนให้เป็นบ้าน ส่วนหนึ่งของชุมชน เพื่อร่วมระดมสรรพกำลังพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข กล้าคิด กล้าแสดงออก และปลูกฝังให้รักษ์ถิ่นฐานบ้านเกิดพัฒนาแผ่นดินเกิดให้เป็นแผ่นดินทองเป็นที่หมายปองเชื่อมั่นศรัทธาของสังคม
G-Good governance หลักธรรมาภิบาล
O-Organization Transformation การปรับเปลี่ยนองค์กร
LO-Learning Organization องค์กรแห่งการเรียนรู้
D-Direction การกำกับ ติดตาม
L-Love School รักโรงเรียน (เข้าใจ)
A-Attitude มีเจตคติที่ดีต่อกัน (เข้าถึง)
N-Notice เอาใจใส่ในงานทุกขั้นตอน (พัฒนา)
D-Durability ความคงทน
กรอบแนวคิด รูปแบบการพัฒนาขับเคลื่อนนวัตกรรม การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมในสังคมพหุวัฒนธรรมโดยใช้ 4HN TO GOLD LAND MODEL พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านเขาพระ ทำโรงเรียนให้เป็นบ้าน ส่วนหนึ่งของชุมชน เพื่อร่วมระดมสรรพกำลังพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุข กล้าคิด กล้าแสดงออก และปลูกฝังให้รักษ์ถิ่นฐานบ้านเกิดพัฒนาแผ่นดินเกิดให้เป็นแผ่นดินทองเป็นที่หมายปองเชื่อมั่นศรัทธาของสังคม
G-Good governance หลักธรรมาภิบาล
O-Organization Transformation การปรับเปลี่ยนองค์กร
LO-Learning Organization องค์กรแห่งการเรียนรู้
D-Direction การกำกับ ติดตาม
L-Love School รักโรงเรียน (เข้าใจ)
A-Attitude มีเจตคติที่ดีต่อกัน (เข้าถึง)
N-Notice เอาใจใส่ในงานทุกขั้นตอน (พัฒนา)
D-Durability ความคงทน
กลุ่มเป้าหมาย
ชุมชนและภาคีเครือข่าย
ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้าน และหน่วยงานภายนอก
ครูและบุคลากร
ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านเขาพระ จำนวน33คน
นักเรียน
นักเรียนโรงเรียนบ้านเขาพระทุกระดับชั้นตั้งแต่ชั้รอนุบาล2-มัธยมศึกษาปีที่3 จำนวน 531 คน
ระยะเวลาดำเนินการ
ตลอดปีการศึกษ2568
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายทักษะอาชีพของผู้เรียนสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21
เพื่อพัฒนาศักยภาพและการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสถานศึกษา
ประเภทของนวัตกรรม
ด้านการบริหารจัดการ