Categories: All - การประเมิน - สังเคราะห์ - วิเคราะห์

by มลธิรา ดุกล่อง 4 years ago

187

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (Evaluate, Analysis, Synthesis)

การประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศเป็นกระบวนการที่สำคัญในการจัดการข้อมูล จากการสืบค้นสารสนเทศที่มีจำนวนมาก ขั้นตอนแรกคือการรับรู้สารสนเทศโดยการอ่าน ดู หรือฟัง จากนั้นทำการบันทึกเนื้อหาและแยกแยะข้อมูลที่ได้รับ การวิเคราะห์ข้อมูลรวมถึงการตรวจสอบและจัดกลุ่มข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน โดยสามารถใช้วิธีการต่างๆ เช่น การจัดเรียงตามลำดับอักษร ลำดับเวลา หรือตามประเด็นใหญ่และย่อย เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของข้อมูล การสังเคราะห์ข้อมูลจะนำข้อมูลที่จัดกลุ่มมาแล้วมารวบรวมและสรุปให้ได้ข้อมูลใหม่ด้วยการใช้ภาษาของตนเองที่ถูกต้อง การนำเสนอสารสนเทศจะทำในรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ของข้อมูลและตอบคำถามหรือแก้ไขปัญหาที่กำหนดไว้ กระบวนการทั้งหมดนี้ช่วยให้การจัดการสารสนเทศมีความเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
(Evaluate, Analysis, Synthesis)

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (Evaluate, Analysis, Synthesis)

บัตรความรู้
วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา

3. แบบถอดความ (Paraphrase Note)

ต้นฉบับเป็นภาษาต่างประเทศ

ต้นฉบับเป็นภาษาที่ไม่แพร่หลายคุ้นเคย เช่น ภาษาบาลี ภาษาถิ่น เป็นต้น

3.1 ต้นฉบับเป็นร้อยกรอง แต่ต้องการใช้เป็นร้อยแก้ว

2. แบบคัดลอกข้อความ (Quotation Note)

ลักษณะของข้อความที่บันทึกโดยวิธีคัดลอก

2.4 เป็นข้อความซึ่งเป็นคติเตือนใจ มีความงามและความไพเราะทางภาษา

2.3 เป็นข้อความซึ่งมีเนื้อหาสาระที่หนักแน่น กะทัดรัด ลึกเฉียบคม และกินใจ

2.2 เป็นสูตร กฎ หรือระเบียบข้อบังคับ

2.1 เป็นคำจำกัดความ หรือความหมายของคำ

1. แบบย่อความ (Summary Note) หรือสรุปความ

1.3 ประเด็นรองหรือรายละเอียดที่เป็นสาระที่สำคัญของแต่ละประเด็นให้รวบรวมและจัดให้เป็นระเบียบกระทัดรัดไว้ที่ประเด็นนั้นๆ

1.2 วิเคราะห์เนื้อหาและเก็บประเด็นหรือสาระสำคัญหลักของหัวเรื่องให้ครบถ้วน

1.1 อ่านเอกสารในหัวเรื่องที่ก าลังบันทึกให้ตลอดเสียก่อนเพื่อสำรวจเนื้อหา สาระ และแนวคิดของเรื่อง

ส่วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้ 1. หัวข้อเรื่องที่ต้องการค้นคว้า ลงไว้ที่หัวมุมบนขวาของบัตร 2. แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรูปแบบบรรณานุกรม 3. เลขหน้าที่ปรากฏของข้อมูล 4. ข้อความที่บันทึก
บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรแข็งขนาด 5x8 หรือ 4x6 หรือกระดาษรายงาน A 4 ▪พับครึ่งใช้บันทึกข้อมูลที่ต้องการควรจดบันทึกเฉพาะตอนที่จะเกี่ยวข้องกับเนื้อหาตามโครงเรื่องที่กำหนดไว้
การบันทึกเป็นการเขียนเรื่องราว ข้อความ ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่ได้รับจากการการ อ่านเพื่อเตือนความจำหรือศึกษาค้นคว้า
ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ
4.จัดกลุ่มเนื้อหา
3. บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ

ใจความหรือข้อความสำคัญ

แหล่งที่มาของข้อมูล เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ และเลขหน้าของแหล่งข้อมูล

คำสำคัญหรือแนวคิด

2. พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคิดต่างๆที่ต้องการจะศึกษา
1. อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง
กระบวนการของการวิเคราะห์สารสนเทศ
4.นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิดเพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงานต่อไป
3.ทeการบันทึกเนื้อหาลงในบัตรบันทึก
2.ดึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็น แนวคิดต่างๆ ที่เราต้องการศึกษา
1.การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านการประเมินแล้วว่าสามารถนำมาใช้งานได้จริงๆ
ความหมายของการวิเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ หมายถึงกระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญและสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการออก เป็นกลุ่มย่อยๆ โดยให้สารสนเทศที่มีเนื้อหาเดียวกันหรือที่ค้นได้จากคำสำคัญเดียวกันอยู่ด้วยกัน

การสังเคราะห์ (Synthesis)

วิธีการจัดสารสนเทศ สามารถทำได้แบบง่ายๆ ดังนี้
จะได้กลุ่มข้อมูล หรือ โครงร่างคร่าวๆ ที่มองเห็นภาพรวมของข้อมูล หรือ คำตอบทั้งหมด (ใส่ข้อมูล มุมมอง เรียบเรียงข้อมูลด้วยภาษาของตนเอง)
จัดเรียงข้อมูลที่ได้เพื่อจัดกลุ่มใหม่อีกครั้ง (หรืออาจเขียนเป็นโครงร่าง) เพื่อให้เห็นลำดับชั้นความสัมพันธ์ และความต่อเนื่องของข้อมูล
ลองจัดกลุ่มความสัมพันธ์ของเรื่องหรือข้อมูล โดยการใส่ตัวเลข หรือตัวอักษร ที่ข้อความนั้นๆ
ท า Highlight / Mark ที่ประโยค หรือข้อความที่สำคัญที่จะใช้
นำเอกสาร หรือ ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ ที่ได้ มาอ่านอีกครั้ง
การจัดสารสนเทศโดยทั่วไป
ใช้หลายๆ วิธีข้างต้นผสมผสานกัน
ตั้งแต่ต้นจนจบ (เช่น story)
ตามลำดับเวลา (เช่น เหตุการณ์)
เรียงตามลำดับอักษร
- จัดกลุ่ม (ประเด็นใหญ่ / ประเด็นย่อย)
ขั้นตอนนี้ จึงต้องเรียนรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
การเขียนการ อ้างอิงและ บรรณานุกรม
การวางโครงร่าง (Outline)
การจัดกลุ่ม ความสัมพันธ์ของ แนวคิด / เรื่อง
การสังเคราะห์ คือ
หรือนำไปใช้ได้ตรงกับความต้องการ
พื่อแก้ไขปัญหาตอบคำถามที่กำหนดไว้
ตลอดจนนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม
แล้วรวบรวมหรือสรุปให้ได้ข้อมูล/เนื้อหาใหม่ ด้วยการใช้ สำนวน ภาษาของตนเองที่มีความถูกต้อง
ซึ่งจะทำให้เห็นความสัมพันธ์ของกลุ่มข้อมูล
แล้วนำมาจัดกลุ่มอีกครั้ง ในลักษณะลำดับชั้น หรือ รูปแบบของโครงร่าง (outline)
การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องเดียวกัน หรือแนวคิดเดียวกันไว้ ด้วยกัน
นำเสนอสารสนเทศ (Present the information)
จัดสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งต่างๆ (Organize from multiple sources)
ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่
ประเมินโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ กรณีไม่
นำแนวคิดต่างๆ ที่เราได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่ม ของแนวคิด มารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง
นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างสัมพันธ์ตามลำดับขั้น
จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน

การเขียนโครงร่าง (Outline)

องค์ประกอบใน การวางโครงร่าง
บทสรุป
เนื้อหา
บทนำ
เป็นการกำหนดกรอบแนวคิดและขอบเขตของเรื่อง จัดลำดับหัวข้อ ให้มีความสัมพันธ์กัน และต่อเนื่องกัน

การนำเสนอสารสนเทศ / การนำเสนอผล

ต้องพิจารณาด้วยว่ารูปแบบที่ใช้เหมาะสมกับหัวข้อ หรือปัญหาที่ได้รับหรือไม่
ขั้นตอนนี้ มีความเชื่อมโยงกันระหว่าง ขั้นตอนที่ 1 Task definition (ตอนแรกตั้งจุดประสงค์ไว้ว่าอย่างไร / สามารถปรับในภายหลังได้)

รูปแบบการนำเสนอ

เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญมากขึ้น เพราะเป็นเครื่องมือที่ ช่วยให้เราสามารถนำเสนอความคิดและสารสนเทศผ่านรูปแบบ ต่างๆ ได้ เช่น การใช้ word, desktop publishing, graphic program, audio/video editing, power point, database เป็นต้น
ปัจจุบันมีหลายทางเลือกที่ใช้ในการนำเสนอ

การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด (Mind Map)

▪ การนำไปใช้งาน
1. ใช้ระดมพลังสมอง 2. ใช้น าเสนอข้อมูล 3. ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำ 4. ใช้วิเคราะห์เนื้อหาหรืองานต่างๆ 5. ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้
วิธีการเขียน Mind Map
5. แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่ง ในข้อ4 โดยเขียนคำหรือวลีเส้นที่แตกออกไป ซึ่งสามารถแตกความคิดออกไปเรื่อย ๆ 6. การเขียนคำควรเขียนด้วยคำที่เป็นคำสำคัญ (Key Word) หรือคำหลัก หรือเป็นวลีที่มี ความหมายชัดเจน 7. คำวลีสัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดที่ต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทำให้เด่น เช่นการล้อมกรอ หรือใส่กล่อง เป็นต้นฃ 8. ตกแต่ง Mind Map ที่เขียนด้วยความสนุกกสนานทั้งภาพและแนวคิดที่เชื่อมโยงต่อกัน
1. เตรียมกระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน 2. วาดภาพสีหรือเขียนค าหรือข้อความที่สื่อหรือแสดงถึงเรื่องจะทำMind Map กลาง หน้ากระดาษ โดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต 3. คิดถึงหัวเรื่องสำคัญที่เป็นส่วนประกอบของเรื่องที่ทำ Mind Map โดยให้เขียนเป็นคำที่มีลักษณะเป็นหน่วย หรือเป็นคำสำคัญ(Key Word) สั้นๆที่มีความหมายบนเส้นซึ่งเส้นแต่ละเส้นจะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิ่ง 4. แตกความคิดของหัวเรื่องสำคัญแต่ละเรื่องในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายกิ่ง โดยเขียนคำหรือ วลีบนเส้นที่แตกออกไป ลักษณะของกิ่งควรเอนไม่เกิน 60 องศา
ขั้นตอนการสร้างMind Map
1. เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ 2. เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบ ๆ 3. เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ 4. ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด 5. เขียนคำสำคัญ (Key word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน 6.กรณีใช้สี ใช้มโนทัศน์รองและย่อยควรเป็นสีเดียวกัน 7. คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำ
▪ Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในสมองลง กระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็น บรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ทำให้สามารถเห็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้ สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูลหรือความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่าง ความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
หลักการประเมินสารสนเทศ
พิจารณาเนื้อหาของสารสนเทศว่าอยู่ในระดับใด

3.สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information)

เป็นการชี้แหล่งสารสนเทศ2 ประเภทแรกไม่ได้ให้มีเนื้อหาโดยตรง เช่นบรรณานุกรม ดรรชนีวารสา

2.สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)

ตัวอย่างเป็นการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาเขียนใหม่ หรือเป็นเครื่องมือช่วยค้นหรือติดตามสารสนเทศปฐมภูมิเช่น หนังสือ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ และวารสารสาระสังเขป

1.สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information)

ตัวอย่างตัวอย่างงานต้นฉบับหรืองานที่ผู้เขียนเผยแพร่ครั้งแรกมักปรากฏใน วารสารหรือรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ

พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่

ขั้นตอน4.ประเมินความทันสมัยของสารสนเทศ

สื่ออิเล็กทรอนิกส์พิจารณาจากวัน เดือน ปีที่เผยแพร่ เป็นต้น

สื่อสิ่งพิมพ์ พิจารณาจาก วัน เดือน ปี ที่พิมพ

ขั้นตอน3. ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศโดยพิจารณาว่า ทรัพยากรสารสนเทศหรือสารสนเทศนั้นๆเป็นรูปแบบใด

ตัวอย่างอยู่ในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์สื่อไม่ตีพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์หากเป็นสื่อ สิ่งพิมพ์ ป็นสิ่งพิมพ์ประเภทใดหนังสือทัั่วไปหนังสือ อ้างอิง วารสาร นิตยสารเป็นต้น

ขั้นตอน2.ประเมินความน่าเชื่อถือของ ผู้เขียน ผู้จัดทำสำนักพิมพ์โดยพิจารณาว่า ผู้เขียนมีคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ตรงหรือสอดคล้องกับเรื่องที่เขียนหรือไม่

ตัวอย่างสารสนเทศที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ที่แต่งโดยรศ.ยืน ภู่วรวรรณ มี ความน่าเชื่อถือกว่าที่แต่งโดยผู้แต่งที่ใช้นามแฝงว่า หนุ่มไอที

ขั้นตอน1. ประเมินความน่าเชื่อถือ ของ แหล่งสารสนเทศโดยพิจารณาว่าสารสนเทศนั้น ได้มาจากแหล่งสารสนเทศใด

บทความบทความที่ได้จาก วารสารวิชาการ มีความน่าเชื่อถือมากกว่า นิตยสารหรือหนังสือพิมพ์

พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่

ขั้นตอนเลือกเฉพาะรายการที่เกี่ยวข้อง กับเรื่องที่เราศึกษา

ทำได้โดยการอ่าน ชื่อเรื่อง สารบัญ คำนำ เนื้อเรื่องคัดย่อ เป็นต้น

ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ
เป็นขั้นตอนในการประเมินเพื่อคัดสรรเลือกสารสนเทศที่เราได้จากการสืบค้นที่มีคุณค่ามีความน่าเชื่อถือในทางวิชาการเป็นการพิจารณาคัดเลือกจากแหล่งสารสนเทศต่างๆทั้งจากห้องสมุด อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ความหมายของการประเมินสารสนเทศ
การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว่ไว้ได้ละเอียดครอบคลุมทุกประเด็น มีคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็นผลและมีเอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือเพียงใด
การนำสารสนเทศที่ค้นคว้าได้ไปใช้เพื่อทำรายงานหรือบทนิพนธ์ ต้อง ผ่านกระบวนการ 3 ขั้นตอน
3. การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
2. การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)
1. การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

2.พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ
พิจารณาช่วงเวลาที่เผยแพร่

ถ้าเป็นสารสนเทศจาก อินเทอร์เน็ต ให้ดูวันเวลาในการ ปรับปรุงเว็บไซต์นั้นซึ่งมักจะอยู่ ด้านล่างของหน้าเอกสาร

เป็นสารสนเทศที่ทันสมัย จัดพิมพ์เผยแพร่ใกล้เคียงกับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

แหล่งที่มาอย่างรอบคอบว่าควรจะนำมาอ้างอิงหรือไม่

สารสนเทศที่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาที่จัดพิมพ์ ให้พิจารณาถึง

สารสนเทศถูกจัดพิมพ์เผยแพร่เมื่อใด

พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ

ต้องการใช้สารสนเทศไปทำอะไร

ต้องการสารสนเทศจากแหล่งใด รูปแบบใด

ต้องการสารสทเทศที่มีเนื้อหาอย่างไร เพื่อตอบโจทย์ปัญหาคืออะไร

พิจารณาขอบเบตเนื้อหา

ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ตให้ดูว่ามีการเชื่อมโยงรายละเอียดกับเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครอบคลุมหัวข้อเรื่อง

เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์

▪ พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต

ผู้จัดพิมพ์เป็นองค์กรหรือสมาคมมืออาชีพที่มีประสบการณ์หรือไม

เป็นโรงพิมพ์ของมหาวิทยาลัยหรือไม

จัดพิมพ์จำนวนมากหรือน้อยเพียงใด

ผู้จัดพิมพ์เป็นที่รู้จักกันดีในสาขาวิชานี้หรือไม่

พิจารณาผู้แต่ง

มีผลงานเขียนที่เกี่ยวข้องกันในที่อื่น ๆ อีกหรือไม่

มีคุณวุฒิและประสบการณ์ในเรื่องที่เขียนหรือไม่

- มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่

1.พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้องของสารสนเทศ

การเขียน การสะกดคำ ถูกต้องตามหลัก ไวยากรณ

เป็นสารสนเทศปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ

มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมหรือไม

เปรียบเทียบแหล่งที่มาของสารสนเทศ กับสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งอื่น ๆ ว่า สอดคล้องหรือแตกต่างกัน

ความเที่ยงตรง

ผู้แต่งใช้ข้อเท็จจริงสนับสนุนการแสดงความ คิดเห็นหรือไม่
พิจารณาเนื้อหาว่ามีส่วนใดทำให้เกิดความลำเอียง

Main topic

มีความทันสมัย เป็ นปัจจุบัน (Up to date)
ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)
ตรวจสอบได้ (Verifiability)
ข้าถึงได้ง่าย (Accessible)
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)
ต้องมีความความถูกต้อง (Accuracy)

ขั้นตอนการประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ

สังเคราะห์ (Synthesis)
จัดกลุ่มและสร้างความสัมพันธ์ของสารสนเทศ

ทบทวนและปรับปรุง

จัดทำโครงร่าง

จัดกลุ่มเนื้อหา

วิเคราะห์ (Analysis)
รับรู้ (อ่าน ดู ฟัง )บันทึกเนื้อหาของสารสนเทศ

แยกแยะเนื้อหา

รับร ู้สารสนเทศ

ประเมิน (Evaluate)
ได้สารสนเทศที่สามารถใช้งานได้จริง

ระดับของเนื้อหา

น่าเชื่อถือ

ตรงกับความต้องการ

สารสนเทศ จากการสืบค้น
สารสนเทศมีจำนวนมาก

หัวข้อนำเสนอ

การสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ
การประเมินสารสนเทศ
การเลือกใช้สารสนเทศ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ด
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี