Categories: All - สารสนเทศ - สังเคราะห์ - เนื้อหา - การวิเคราะห์

by ธีรภัทร แซ่เตียว 4 years ago

295

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ ( Evaluate Analysis Synthesis )

การจัดการสารสนเทศเป็นกระบวนการที่สำคัญในการประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ ข้อมูลที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ ถูกต้อง ทันสมัย ตรวจสอบได้ และเข้าถึงง่าย กระบวนการวิเคราะห์สารสนเทศเริ่มจากการอ่านจับใจความ การพิจารณาเนื้อหา การบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และการจัดกลุ่มเนื้อหา ส่วนการสังเคราะห์สารสนเทศเป็นการรวมกลุ่มข้อมูลที่มีแนวคิดเดียวกันและสร้างโครงสร้างใหม่เพื่อประเมินความครบถ้วน การทำแผนผังความคิดช่วยในการถ่ายทอดความคิดโดยใช้ภาพ สี และเส้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล การเขียนแผนผังควรเริ่มจากมโนทัศน์หลักที่กึ่งกลางหน้ากระดาษและเชื่อมโยงกับมโนทัศน์รองและย่อย การใช้ภาพหรือสัญลักษณ์ช่วยให้เข้าใจง่ายและเห็นภาพรวมของข้อมูลได้ชัดเจนมากขึ้น

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
( Evaluate Analysis Synthesis )

การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ ( Evaluate Analysis Synthesis )

5.การวิเคราะห์สารสนเทศ

วิธีเขียนบัตรบันทึกเนื้อหา
3.แบบถอดความ (Paraphrase Note)
2.แบบคัดลอกข้อความ (Quontation Note)
1.แบบย่อความ (Summary Note)
ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ
4.จัดกลุ่มเนื้อหา
3.บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ
2.พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศ
1.อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง
การวิเคราะห์สารสนเทศ หมายถึงกระบวนการแยกแยะสารสนเทศที่สำคัญและต้องการออก

6.การสังเคราะห์สารสนเทศ

การเขียนแผนผังความคิดหรือแผนที่ความคิด (Mind Map)
Mind Map คือการถ่ายทอดความคิด หรือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใยแทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัดๆ เรียงจากบนลงล่าง ทำให้สามารถเห็นภาพรวม

7.คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทำ

6.กรณีใช้สีทั้งมโนทัศน์รองและย่อยควรเป็นสีเดียวกัน

5.เขียนคำสำคัญ (Key Word)บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน

4.ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมาย เป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด

3.เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อยๆ

2.เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบๆ

1.เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ

กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ
ประเมินโครงร่างที่ได้ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่กรณี่ไม่ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่
นำแนวคิดต่างๆ ที่ได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มของแนวคิด มารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง
นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับขั้นตอน
จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน

4.การประเมินสารสนเทศ

พิจารณาว่าเนื้อหาอยู่ในระดับใด
3.สารสนเทศตติยภูมิ (Tetiary Information)
2.สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)
1.สารสนเทศปฐมมภูมิ (Primary Information)
พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
4.ประเมินความทันสมัยของสารสนเทศ
3.ประเมินความน่าเชื่อถือของทรัพยากรสารสนเทศ
2.ประเมินความน่าเชื่อถือของผู้เขียน ผู้จัดทำสำนักพิมพ์
1.ประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งสารสนเทศ
การประเมินสารสนเทศ คือ การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มานั้นสามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ละเอียดครอบคลุมประเด็น มีคำอธิบายเป็นเหตุและผล

3.การเลือกใช้สารสนเทศ

3.การสังเคราะห์สารสนเทศ (Synthesis)
2.การวิเคราะห์สารสนเทศ (Analysis)
1.การประเมินสารสนเทศ (Evaluate)

2.หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี

5.พิจารณาจากช่วงเวลาที่เผยเเพร่
4.พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
3พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
2.พิจารณาแหล่งที่มาของข้อมูล
1.พิจารณาจากความน่าเชื่อถือ

1.ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน (Up to date)
ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness)
ตรวจสอบได้ (Verifiability
เข้าถึงได้ง่าย (Accessible
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
ต้องมีความสมบูรณ์ (Completeness)
มีความน่าเชื่อถือ (Reliable)
ต้องมีความถูกต้อง (Accuracy)