Categories: All - สารสนเทศ - สืบค้น - ฐานข้อมูล - อินเทอร์เน็ต

by Waranya Keawlaiad 4 years ago

175

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้ (Knowledge Inquiry)

การสืบค้นสารสนเทศสามารถทำได้หลากหลายวิธี ทั้งการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์และการค้นหาผ่านอินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูลออนไลน์แบ่งออกเป็นฐานข้อมูลที่เช่ามาใช้ทดลองและฐานข้อมูลที่ห้องสมุดบอกรับเป็นสมาชิก สำหรับการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ จำเป็นต้องวิเคราะห์เรื่องที่ต้องการและกำหนดคำสำคัญ จากนั้นเลือกการแสดงผลที่ต้องการและบันทึกผลข้อมูล การสืบค้นสามารถทำได้โดยการพิมพ์คำสั่งหรือใช้เมนู ส่วนการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตนั้นมีส่วนข้อมูลที่ไม่ปรากฏบนเวิล์ดไวด์เว็บ เช่น ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ ความลับทางการค้า และสิ่งพิมพ์ที่มีลิขสิทธิ์ โดยองค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตประกอบด้วยตัวดรรชนี โปรแกรมค้นข้อมูล และตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล เนื้อหาที่มีให้บริการในเวิล์ดไวด์เว็บมักเป็นข่าวสารข้อมูลทางราชการและนามานุกรมของพนักงาน

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้
 (Knowledge Inquiry)

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้ (Knowledge Inquiry)

ประเภทการสืบค้นสารสนเทศ

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น

สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น

สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)

เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง

BEFORE หมายถึง ให้คำค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำ โดยต้องอยู่ตามลำดับที่ กำหนดเท่านั้น

FAR หมายถึง ให้คำค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำหรือมากกว่านั้น

NEAR หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คำ สลับที่ได้

ADJ หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับคำได้

เทคนิคการตัดคำ

การสืบค้นในลักษณะของ Stemming

ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำส่วน ใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ

เทคนิคตรรกบูลลีน

การใช้เครื่องหมาย + และ -

การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก

การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

โปรแกรมค้นข้อมูล

ตัวดรรชนี

ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล

ส่วนข้อมูลที่ไม่ปรากฏบน เวิล์ดไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW)

สิ่งพิมพ์ที่มีลิขสิทธิ

ยกเว้นแต่จะได้รับการขออนุญาตแล้วเท่านั้น

ฐานข้อมูลเชิงพาณิชย์ต่าง ๆ (Commercial Databases)

ยกเว้นมีการสมัครเป็นสมาชิก

ความลับทางการค้า (Trade Secrets)

ลักษณะเนื้อหาที่มีให้บริการในเวิล์ดไวด์เว็บ (World Wide Web หรือWWW)

ข้อมูลทางด้านบันเทิง ทีวี เกม ภาพยนตร์ เพลง และอื่นๆ

บทความที่เลือกสรรเฉพาะ

การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน

ข่าวสารข้อมูลทางราชการ

ข่าวสารทันสมัย

การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ

นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน

ข้อมูลการตลาดส าหรับสินค้า และผลิตภัณฑ์ รวมถึงสื่อโฆษณาต่าง ๆ

การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์

เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล เพื่อให้ระบบทราบว่า ต้องการรายการใดบ้างในพิมพ์ผลออกทางกระดาษ

แสดงผลรายการที่สืบค้นได้3 รูปแบบใหญ

การแสดงผลแบบอิสระแสดงผลที่ก าหนดเขตข้อมูลในการแสดงผลด้วย ตัวเอง

การแสดงผลแบบย่อ แสดงผลเฉพาะรายการทางบรรณานุกรมเท่านั้น

การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ แสดงผลทุกเขตข้อมูลที่รายการนั้นมีอยู่

ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้2 วิธี

การสืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง

การใช้เมนูในการสืบค้น

เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม

วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดคำสำาคัญเพื่อใช้ในการค้น

ฐานข้อมูลทดลองใช้

เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์ สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน

ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล

เป็นฐานข้อมูลที่ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และโครงการThai Library Integrated System เช่าใช้ฐานข้อมูลโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมีการจำกัดระยะเวลาในการใช้

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์ หรือOPAC
ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC

ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)

หัวเรื่อง (Subject) เพื่อใช้ในการสืบค้นต่อ

เลขมาตรฐานสากลประจ าวารสาร (ISSN)

ชื่อวารสาร (Journal) บอกข้อมูลเกี่ยวกับชื่อวารสาร ปีที่ฉบับที่ เดือน ปีและ เลขหน้าที่ปรากฏบทความ

สถานที่ (Location) บอกสถานที่เก็บและให้บริการวารสาร

ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal)

ปี(Year) ได้แก่ ปีพิมพ์ของวารสาร

ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อบทความวารสาร

ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)

หัวเรื่อง (Subject) เป็นการระบุค าหรือกลุ่มค าที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากร

หัวเรื่อง (Subject) เป็นการระบุค าหรือกลุ่มคำที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากร

สถานที่ (Location) เป็นการบอกว่าทรัพยากรรายการนั้นอยู่ที่ห้องสมุดใด

หมายเหตุ (Note) เป็นการระบุข้อมูลของทรัพยากรเพิ่มเติม

รูปเล่ม (Description) บอกข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนหน้า ภาพประกอบ และ ขนาด

เลขเรียกหนังสือ (Call number)

สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ

ชื่อเรื่อง(Title) ของหนังสือ ชื่อวารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์

ชื่อผู้แต่ง (Author) อาจเป็นชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน

วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC

หน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้ เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นต้น

ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก

หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ ระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว

หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการ นั้นๆ

บทสรุป

ผู้สืบค้นก็ต้องรู้จักวิธีการที่คัดเลือกและประเมินสารสนเทศ เพื่อที่จะได้นำ สารสนเทศที่มีคุณค่า ถูกต้อง และตรงกับความต้องการของตนเองไปใช้งานได้อย่างเหมาะสม
ความสามารถของผู้สืบค้นประกอบไปด้วยทักษะ และเทคนิคของการสืบค้น ซึ่งผู้สืบค้นแต่ละคนจะมีมากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับการฝึกฝนและพัฒนาทักษะอย่าง ต่อเนื่อง
การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล OPAC ฐานข้อมูลออนไลน์และบนอินเทอร์เน็ตเป็นความสามารถของแต่ละบุคคล

ความหมาย

ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
แหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และขอบเขตกว้างขวาง โดยไม่ มีข้อจำกัดในด้านระยะทาง
เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ
เครื่องมือและรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการ