ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(Personal Income Tax)
ค่าลดหย่อน
เงินบริจาค
เงินบริจาคหักได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือหลังจาก
หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอื่น ๆ ประเภท 2 เท่าแล้ว
เงินบริจาค หักได้ 2 เท่าของที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือหลังจากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอื่น ๆ
เงินสะสมกองทุนการออมแห่งชาติ
ตามจํานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
เงินสมทบกองทุนประกันสังคม
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย
ตามจํานวนเงินที่ได้จ่ายไปจริงแต่ไม่
เกิน 100,000 บาท
ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว(LTF)
อัตราไม่เกินร้อยละ 15 ของเงิน
ได้เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 500,000 บาท
ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมสํารองเลี้ยงชีพ(RMF)
หักได้ไม่เกินร้อยละ 15เงินได้พึงประเมินที่ได้รับ
ซึ่งต้องเสียภาษีเงินได้ในปีภาษีนั้น
เงินสะสมจ่ายเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาของผ้มีเงินได้และคู่สมรส
จ่ายจริงแต่ไม่เกิน15,000 บาท
เบี้ยประกันสุขภาพของผ้มีเงินได้
หักลดหย่อนได้ตามจ่ายจริง
แต่ไม่เกิน 15,000บาท
เบี้ยประกันชีวิต
เบี้ยประกันชีวิตแบบบํานาญ
หักลดหย่อนได้ในอัตราร้อยละ 15 ของเงินได้
ที่นํามาเสียภาษีเงินได้ในแต่ละปี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
หักได้ตามจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท
อุปการะเลี้ยงดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพคนละ 60,000 บาท
บิดามารดาของผู้มีเงินได้ หรือคู่สมรสคนละ 30,000 บาท
บุตร คนละ 30,000 บาท
คู่สมรสของผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
ผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี
การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี
การคํานวณมี 3 ขั้นตอน
เปรียบเทียบภาษีตามวิธีที่ 1 กับวิธีที่ 2
การคํานวณภาษีตามวิธีที่ 2 (ฐานเงินได้พึงประเมิน)
การคํานวณภาษีตามวิธีที่ 1 (ฐานเงินได้สุทธิ)
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีเงินได้พึงประเมิน
ประเภทที่ 5-8 ในเดือนมกราคม-เดือนมิถุนายน
วิธีการเสียภาษี
การเสียภาษีโดยการหักภาษี ณ ที่จ่าย
การเสียภาษีโดยการประเมินของเจ้าพนักงาน
การเสียภาษีโดยการประเมินตนเอง
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้
วิสาหกิจชุมชน
ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นสามัญ
หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
คณะบุคคล
บุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน
โดยไม่จําเป็นต้องแบ่งปันผลกําไรที่จะพึงได้จากกิจการร่วมกัน
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
บุคคลธรรมดาตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงเข้าทุนกัน
เพื่อกระทํากิจการร่วมกันมีวัตถุประสงค์ในการที่จะ
แบ่งปันผลกําไรที่พึงได้จากกิจการที่ทําร่วมกัน
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
บุคคลธรรมดา
เริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและ
สิ้นสุดลงเมื่อถึงแก่ความตาย
ฐานภาษีเงินได้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา=ฐานภาษี(เงินได้สุทธิ)x อัตราภาษี
เงินได้สุทธิ = เงินได้พึงประเมิน – ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน
ประเภทเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8
หักตามอัตราเหมาในอัตราร้อยละตามที่กฎหมายกําหนด
เงินได้จากการธุรกิจ
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7
หักตามอัตราเหมาในอัตราร้อยละ 60
การรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้อง
ลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6
อื่นๆนอกจากโรคศิลปร้อยละ 30
การประกอบโรคศิลป ให้หักค่าใช้จ่ายร้อยละ 60
หักตามความจําเป็นและสมควร
เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
การประกอบโรคศิลป วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี
ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอื่น
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5
การหักค่าใช้จ่าย
อื่นๆ 10%
ยานพาหนะ 30%
ที่ดินไม่ได้ใช้ในการเกษตรฯ 20%
ที่ดินใช้ในการเกษตรฯ 20%
บ้าน 30%
เงินได้จากการให้เช่า
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4
เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกําไร
ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้
ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 3
หักค่าใช้จ่ายได้เฉพาะเงินได้ที่เป็นค่าแห่งลิขสิทธิ์โดยให้หักเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของค่าแห่งลิขสิทธิ์แต่รวมกันไม่เกิน 100,000 บาท
ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2
หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้
แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท
หน้าที่หรือตําแหน่งงานที่ทํา
หรือจากการรับทํางานให้
เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1
หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงินได้
แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท
เงินเดือน ค่าจ้าง
เงินได้ที่ได้รับการยกเว้น
การยกเว้นตามกฎหมายอื่น
การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา
การยกเว้นตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126
การยกเว้นตามมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร
แหล่งเงินได้
เงินได้จากแหล่งนอกประเทศ
เงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศ
ทรัพย์สินที่อยู่ในประเทศไทย
กิจการของนายจ้างในประเทศไทย
กิจการที่ทําในประเทศไทย
หน้าที่งานที่ทําในประเทศไทย
เงินได้พึงประเมิน
เครดิตภาษีตามที่กฎหมายกําหนด
เครดิตภาษี = อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล x เงินปันผลหรือส่วนแบ่งกําไรที่ได้รับ
100 -อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
เงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้
ให้ทั้งเงินเดือนและออกภาษีแทนให้ด้วย
ประโยชน์ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน
สิ่งที่ได้รับมากไม่ใช่เงินหรือทรัพย์สิน
แต่เป็นประโยชน์ที่ได้รับซึ่งสามารถนํามาคํานวณได้เป็นตัวเงิน
ทรัพย์สินซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน
ทรัพย์สินหรือสิ่งที่ได้รับและสามารถคิด
คํานวณได้เป็นเงินในระหว่างปีภาษีนั้น
เงิน
ตราสารที่มีค่าเสมือนเงินสดที่ได้รับ