Categories: All - สารสนเทศ - การเรียนรู้ - ความรู้ - เทคโนโลยี

by Papitchaya Oil 6 years ago

152

61105094_Papitchaya

ข้อมูลนั้นประกอบด้วยสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ได้รับการประมวลผล สังคมความรู้แบ่งออกเป็นสองยุค โดยในยุคที่สองนั้นมีลักษณะพอเพียงและบูรณาการ ทุกคนในสังคมมีบทบาทร่วมกันในการใช้ความรู้ นักวิชาการและนักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker หรือผู้เชื่อมความรู้ สังคมความรู้มีการประยุกต์ ถ่ายโอน สะสม และสร้างสรรค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง สารสนเทศมาจากคำว่า '

61105094_Papitchaya

ความหมายของสารสนเทศ (Information) สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษค าว่า “Information”

จากนิยามข้างต้น สรุปได้ว่า ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อน าไปใช้ประโยชน์

ความรู้ (Knowledge) 4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งคำทั้ง 3 คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้ 3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง 3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก 3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) 3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions) 3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน 3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ 3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา 3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้ 3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน 3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และพึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker

ลักษณะส าคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพจะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้

มี 5 ขั้ตตอน ดังนี้

2) Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้
3) Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้

4) Knowledge Optimization คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช

5) Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู

1) Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era) สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค คือ

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง อีกความหมายหนึ่งได้อธิบายถึงสังความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ องค์ความรู้ต่าง ๆ

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)

สังความรู้ Knowledge Society

Main topic