Categories: All - การประเมิน - การกระจาย - การเข้าถึง - ข้อมูล

by Sukanya Yafa 5 years ago

208

Organigram

ในยุคสังคมความรู้ เราสามารถแบ่งออกเป็นสองยุคหลัก โดยในยุคแรก นักวิชาการและนักวิชาชีพมีบทบาทสำคัญในการจัดการความรู้ พวกเขาจะต้องมีความสามารถในการประเมินความถูกต้องของความรู้ ทำความรู้ให้ง่ายต่อการใช้งานและการเข้าถึงความรู้ผ่านวิธีการต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ตหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้ยังต้องมีความสามารถในการตีค่าความรู้ว่ามีความคุ้มค่าหรือไม่ และการกระจายความรู้ให้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ส่วนในยุคที่สอง ความรู้จะถูกใช้ในลักษณะที่พอเพียง สมดุล และบูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของและใช้ความรู้เพื่อสร้างความเป็นอิสระและพึ่งตนเอง ยุคนี้มีลักษณะสำคัญที่มีการสะสมและสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม และการถ่ายโอนความรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกคน

Organigram

จากคำนิยามสามารถ สรุปได้ว่า ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์

สังคมความรู้(knowledge-society)

กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทาได้หลายทาง
การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้ (Type of Knowledge)

Explicit Knowledge

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้

Tacit Knowledge

ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น

ความหมายของความรู้ (Definition of Knowledge)

พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ความรู้ คือกระบวนการขัดเกลา เลือกใช้ และบูรณาการ การใช้สารสนเทศเหล่านั้นจนเกิดความรู้ใหม่

จากคำนิยามสามารถสรุปได้ว่า ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”

ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้

ความหมายของสารสนเทศ (Information)

“Information” ซึ่งมีผู้ได้ให้นิยามไว้ ดังนี้ สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจำนวนและคุณภาพ

จากคำนิยาม สามารถสรุปความหมายของสารสนเทศได้ดังนี้ สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้

ความหมายของข้อมูล (Data)

ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 35-37) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ

ข้อมูลสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้

ข้อมูลเสียง (Voice Data)

ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data)

ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data)

ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)

ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data)

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era)

สังคมความรู้ยุคที่ 2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของและเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลังมีความเป็นอิสระและพึ่งตนเอง

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2

มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

สังคมความรู้ยุคที่ 1
เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกันเกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้ ซึ่งจะมีความสามารถ 5 ด้านดังนี้

Knowledge Dissemination

การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้

Knowledge Optimization

การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ เเละต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้

Knowledge Valuation

การตีค่า การตีความรู้ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่

ในการตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องเเละตามหลักวิชาการแต่ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก

ไม่สร้างความยุติธรรม และศักดิ์ศรีมนุษย์

ขัดกับความคิด ความเชื่อ หรือวัฒนธรรม

ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจำเป็น

ใช้สาหรับสิ่งที่ไม่จำเป็น หรือฟุ่มเฟือย

ความไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน์

Knowledge Validation

การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้จะมีทั้งของจริงและของหลอก

Knowledge Access

การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้ทาง Internet หรือ ICT Connectivity ต่าง ๆ

นิยามหรือความหมายของ สังคมความรู้ (Definition of Knowledge Society)

ความหมายที่ 2
สังคมความรู้ หมายถึง เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ องค์ความรู้ต่าง ๆ
ความหมายที่ 1
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงจากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง