Knowledge Society 1
สรุป ความรุ้เป็นสิ่งจำเป็นในสังคมความรู้ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการความรุ้ได้ดีจะสามารถพัฒนาสักยภาพตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่นในสังคมหรือองค์กรได้ดี การสะสมความรู้เเละการประยุกต์มาใช้จะช่วยสร้างเเละพัฒนาบุคคลหรือองคืกรให้มีความรู้ ความสามารถในการดำรงชีพในสังคมความรู้ในศตวรรธที่ 21
ความรู้
ประเภทรุปแบบความรู้
มนตรี จุฬาวัฒนทล แบ่งเป็น 4 ระดับ
ความรุ้ใหม่
ความรุ้ด้านวิชาการ
ความรู้ด้านภาษา
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัว
Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัด เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้โดยวิธีต่างๆ
Tacit knowledge ความรู้ที่ว่อนอยู่ในเเต่ละบุคคล เป็นความรุ้ที่ได้จากประสบการณ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้
ความหมายของความรู้
จากนิยามข้างบน สรุปได้ว่า ความรู้ หมายถึงความเข้าใจในเรื่องบางเรื่องหรือบางสิ่ง ซึ่งอาจรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการโดนอาสัยการแปรผลมาจากข้อมุล สารสนเทศ การศึกาาที่สะสมมาในอดีต
ชาร์ราชเเละยูโซโร กล่าวว่า ความรู้คือความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ ข้อมูลข่าวสารที่ชัด
อลาวีเเละลีเดอรื กล่าวว่า ความรู้คือสิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าเป้นการเพิ่มขีดความสามารถที่จะนำมาซึ่งประสิทธิภาพที่ดีกว่า
Haraldsson กล่าวว่า ความรู้คือการไหลเวียนของความรุ้สึก ปฏิกริยาตอบกลับ การตัดสินใจ สารสนเทสเเละกระบวนการเรียนรู้
ความหมายของสารสนเทส
จากนิยามข้างบน สรุปได้ว่า สารสนเทส หมายถึงข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วเเละสามารถนำไปใช้ประดยชน์ได้
Orna กล่าวว่า สารสนเทศคือการถ่ายทอดคววามรู้มนุษยืเพื่อการสื่อสารไปยังบุคคลอื่น
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลที่มนุษย์วิเคราะห์เเละตีความเเล้ว
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลที่มีคุณค่าทั้งเชิงปริมาณเเละคุณภาพ
ความหมายของข้อมูล
ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิเเละครรชิต มาลัยวงศ์ กล่าวว่า ข้อมูลคือบันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ เเบ่งเป็น 5 ประเภท
ข้อมูลเสียง
ข้อมูลภาพลักษณ์
ข้อมูลกราฟิก
ข้อมูลตัวอักษร
ข้อมูลตัวเลขหรือเชิงจำนวน
วิจารณ์ พานิช กล่าวว่า ข้อมูลคือข้อมูลเชิงบรรยายหรือข้อมูลเชิงปริมาณ
พรธิดา วิเชียรปัญญา กล่าวว่า ข้อมูลคือข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงานประจำวัน
Acckoff กล่าวว่า ข้อมูลคือสัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปลความ
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
ทุกคนเป็นครูและผุ้เรียน
ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลเเละชุมชนร่วมกัน
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนการเรียนรู้
การริเริ่ม/เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
มีภาคีเครือข่ายที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนานวัตกรรมเเละระบบการเรียนรู้
กลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางเพื่อพัฒนาชุมชน
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาด สถานที่ตั้ง
กระบวนการจัดการความรู้
การเรียนรู้ ควรทำให้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
การจัดการความรุ้ในองคืกรการแบ่งปันเเลกเปลี่ยนความรู้
การเข้าถึงความรู้
การจัดความรุ้ให้เป็นระบบ
การสร้างเเละเเสวงหาความรุ้
การบ่งชี้ความรู้ พิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องคืกรบรรลุเป้าหมาย
การประมวลเเละกลั่นกรองความรุ้
ยุคของสังคมความรู้
สังคมยุคที่ 2
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
สังคมยุคที่ 1
Knowledge Dissemination การกระจายความรู้
Knowledge Optimization การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้
Knowledge Valuation การตีค่า ตีความรู้ว่าคุ้มค่าหรือไม่
Knowledge Validation การประเมินความถูกต้องของความรู้
นิยามหรือความหมายของสังคมความรุ้
ใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกเเละตัดสินใจแก้ปัญหาเเละพัฒนา
ทำให้บุคคล สังคม สามารถสร้างความรู้ ทักาะ ระบบจัดการความรู้และระบบการเรียนรู้ที่ดี มีการถ่ายทอดความรู้และะลแกเปลี่ยน
กระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคล สมาชิกในชุมชน สังคม เรียนรู้ผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ
การเข้าถึงเเละใช้ประโยชน์จากเครื่อข่ายสารสนเทศสูง