Categorias: Todos - การพัฒนา - องค์กร - ชุมชน - การเรียนรู้

por ณัฏวัตร สุวรรณพันธ์ 4 anos atrás

218

63102982

สังคมความรู้เป็นแนวคิดที่เน้นความสำคัญของการจัดการและการใช้ความรู้ในการพัฒนาชุมชนและสังคมโดยรวม มีการเน้นให้ทุกคนในสังคมมีบทบาทเป็นทั้งผู้เรียนและผู้สอน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและไม่สิ้นสุด นอกจากนี้ยังมีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ที่ทันสมัย เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากความรู้ได้อย่างเต็มที่ สถาบันทางสังคมและกลุ่มภาคประชาชนมีบทบาทสำคัญในการริเริ่มและดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาชุมชน สังคมความรู้แบ่งออกเป็นสองยุค ยุคแรกเน้นการผลิตและการแข่งขันในตลาด ส่วนยุคที่สองเน้นความพอเพียงและสมดุล โดยมีการบูรณาการประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ให้มีส่วนร่วมในการจัดการและใช้ความรู้ กระบวนการจัดการความรู้แบ่งออกเป็นหลายส่วนสำคัญ รวมถึงการสร้างและแสวงหาความรู้ การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ และการจัดการความรู้ในองค์กร เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน

63102982

สังคมความรู้ (Social Knowledge)

4. ความรู้ (Knowledge)

4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge) Davenport and Prusak กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การทำงาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจและการกระทำต่างๆ
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งคำทั้ง 3 คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสารสนเทศและความรู้ไว้ดังนี้

5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge) แบ่งออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้

5.7 การรียนรู้
5.6 การจัดการความรู้ในองค์กร
5.5 การเข้าถึงความรู้
5.4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้
5.3 การจัดการความรู็ให้เป็นระบบ
5.2 การสร้างและแสวงหาความรู้
5.1 การบ่งชี้ความรู็

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2. ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era) สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค

2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และพึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นัวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้

1. นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)