Statistical for research
ค่าพิสัย
ข้อเสีย
ค่าพิสัยขึ้นกับขนาดของข้อมูล ถ้าข้อมูลมีจำนวนมากพิสัยจะมาก ถ้าข้อมูลมีจำนวนน้อยพิสัยจะน้อย
กรณีที่ข้อมูลมีจำนวนมาก การวัดจะไม่แน่นอน
ค่ากึ่งกลางพิสัย
ค่าจากการนำข้อมูลค่ามากที่สุดและน้อยที่สุดมาหาค่าเฉลี่ย
หาได้โดยนำ ข้อมูลที่มีค่ามากที่สุด-ข้อมูลที่มีค่าตำ่ที่สุด
ค่ามัธยฐาน
ใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลได้เป็นอย่างดีในกรณีที่ข้อมูลมีการกระจายที่ผิดปกติ
ขั้นตอนการหา
2.)หาตำแหน่งกึ่งกลางของข้อมูล
1.)เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
หลักการหา
แจกแจงความถี่
ไม่แจกแจงความถี่
ข้อจำกัด
ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก จะไม่สามารถใช้เป็นค่ากลางหรือตัวแทนข้อมูลได้
เป็นตัวแทนของข้อมูลที่ดีที่สุด
เป็นค่าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
เป็นค่าที่มีความแปรปรวนตำ่ที่สุด
เป็นค่าที่มีความคงเส้นคงวา
เป็นค่าไม่เอนเอียง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย
สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน
การพยากรณ์
การหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป
การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
สถิติพื้นฐาน
สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไปของข้อมูล
การวัดการกระจาย
ความแปรปรวน
พิสัย
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง
ฐานนิยม
มัธยฐาน
ค่าเฉลี่ย
การแจกแจงควมถี่
ค่าฐานนิยม
สามารมีค่าได้มากกว่า1ค่า
สามารถใช้ได้กับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
เป็นค่ากลางที่ใช้ในกรณีที่ข้อมูลมีการซำ้กันมากๆจนผิดปกติ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เมื่อนำส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมายกกำลังสองจะเรียกว่าค่าความแปรปรวน
เป็นค่าที่ใช้บอกถึงการกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าพิสัย