Categories: All - ประสบการณ์ - วิชาการ - ความรู้ - ข้อมูล

by Asamee Thingnamrob 5 years ago

299

ยุคของสังคมความรู้

ความรู้แบ่งออกเป็นหลายประเภทและรูปแบบ แต่ละประเภทมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน ความรู้ที่ซ่อนเร้นเกิดจากประสบการณ์และไม่สามารถถ่ายทอดได้ง่าย ในขณะที่ความรู้ที่ชัดเจนสามารถบันทึกและถ่ายทอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ มนตรี จุฬาวัฒนทล ได้แบ่งความรู้ออกเป็นสี่ระดับ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัว ความรู้ด้านภาษา ความรู้ด้านวิชาการ และความรู้ใหม่ ความรู้ด้านวิชาการเกิดจากการศึกษาและสามารถนำไปใช้ในการคำนวณและการวินิจฉัย ความรู้ใหม่เป็นผลจากการค้นคว้าวิจัยและการพัฒนากระบวนการใหม่ๆ นอกจากนี้ ความรู้ยังมีความหมายว่าเป็นความเข้าใจที่สามารถนำไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ และข้อมูลเป็นกลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล

ยุคของสังคมความรู้

ยุคของสังคมความรู้

Use this mind map structure to discover unseen connections, generate new ideas and reach a better understanding of any given subject.

นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้

In the conclusion you should have a brief summary of your key points.

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง
add note here

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

กระบวนการจัดการความรู้

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบ
การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง
การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

ความรู้ (Knowledge)

The key points are the arguments which will support your thesis. These can be agreeing arguments or disagreeing arguments too, in each case they need to reflect on the main idea.

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)

ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และสามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จำกัดในอนาคต

ความหมายของสารสนเทศ (Information)

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์

ความหมายของข้อมูล (Data)

ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 35-37) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ หรือเกี่ยวกับ คน สิ่งของ หรือ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งข้อมูลสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้

ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ

ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล

ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก

ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมา คำนวณได้

ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข

ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์

ประเภทรูปแบบความรู้
มนตรี จุฬาวัฒนทล (2537 อ้างถึงใน น้ำทิพย์ วิภาวิน, 2547 : 4) ได้แบ่ง ประเภทของความรู้ออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่

ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน เป็นความรู้ที่เกิดจากการค้นคว้าวิจัย การ คิดค้นกระบวนการใหม่ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนา

ความรู้ด้านวิชาการ เป็นความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน เช่น สามารถคำนวณได้ วินิจฉัยได้

ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะทำให้อ่านและเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ ดูโทรทัศน์รู้เรื่อง ตลอดจนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ตกทอดกันมา

ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา ซึ่งสามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งการมองเห็น ได้กลิ่น ได้ยิน และได้ลิ้มรส

Explicit Knowledge

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ

Tacit Knowledge

ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์

สังคมความรู้ยุคที่ 2

State the main idea of the essay. This will be your thesis statement.

มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ภายในสังคม
มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
สังคมความรู้ยุคที่ 1

In the introduction you should state the ideas what you want to defend along the essay.

Knowledge Dissemination คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติ สาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้
Knowledge Optimization คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้การนำความรู้ออกมา เป็นกฎเกณฑ์

การทำคู่มือต่างๆ

Knowledge Valuation คือ การตีค่า การตีความรู้

สาเหตุ

5)ไม่สร้างความยุติธรรม

4)ขัดกับความคิด ความเชื่อหรือวัฒนธรรม

3)ปฏิบัติจริงได้ยาก ขากสิ่งจำเป็น

2)ใช้สำหรับสิ่งที่ไม่จำเป็น หรือฟุ่มเฟือย

1)ความ ไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน์

Knowledge Validation คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้
Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้ทาง Internet