Categories: All - การรักษา

by Yupa Sangthanom 6 years ago

4921

พยาธิ

หญิงอายุ 33 ปีประสบอุบัติเหตุตกจากที่สูง ส่งผลให้กระดูกต้นขาซ้ายหักบริเวณ Intertrochanteric ผู้ป่วยมีอาการปวดและบวมอย่างชัดเจน และขาข้างที่หักสั้นกว่าปกติ อาการปวดเกิดจากการหลั่งสารเคมีต่าง ๆ เช่น Histamine และ Prostaglandin รวมถึงกระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกปวด การรักษาเริ่มจากการใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการปวด เช่น Tramal และ Morphine พร้อมกับการใช้ skin traction ซึ่งเป็นวิธีการรักษาที่ใช้แรงดึงกระดูกเพื่อลดอาการเจ็บปวดและป้องกันการเคลื่อนที่ของกระดูกหัก ทีมแพทย์ยังต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว การดูแลผู้ป่วยยังรวมถึงการประเมินความปวดด้วย pain score และจัดท่าทางของผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่สบายเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด การดูแลอย่างละเอียดและระมัดระวังเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นตัวได้ดีขึ้น

พยาธิ

Floating topic

ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 33 ปี

เกิดอุบัติเหตุตกจากที่สูง

X-ray Flim Pelvic bone มีการหักของกระดูก Femur ที่บริเวณ Intertrochanteric ที่อยูบริเวณระหว่าง greater และ lesser trochanter
เกิดภาวะแทรกซ้อนจาการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว

แพทย์วินิจฉัย Dx : Closed Intertrochanteric fracture left femur กระดูกต้นขาซ้ายส่วน Interchanteric หักชนิดแบบปิด

ผ่าตัด Proximal femoral nail antirotation

ประเภทของกระดูก

หลังผ่าตัด

ผู้ป่วยไม่ทราบการปฎิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน

1. ประเมินความรู้การดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติเมื่อกลับบ้าน 2. แนะนำเรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะกับภาวะสุขภาพและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการปัญหาด้านเศรษฐกิจของผู้ป่วย 3. ส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ ตลอดจนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ 4. แนะนำการรับประทานอาหารเหมาะสมกับโรคหลีกเลี่ยงหรืองดอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

O:ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Proximal femoral nail antirotation หลังการผ่าตัดจึงต้องได้รับการฟื้นฟูร่างกาย

S:ญาติผู้ป่วยถามว่า “ ต้องใช้เวลาพักฟื้นนานไหม จะได้กลับบ้านเมื่อไหร่ ”

เสี่ยงต่อการเกิดภาวะติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด

การผ่าตัดทำให้เกิดการฉีดขาดของหลอดเลือดและเนื้อเยื่อ

หลั่งสาร Histamine Prostaglandins

หลอดเลือดฝอยขยายตัว

ทำให้เกิดการอักเสบ

กระตุ้น Sysmathetic system

เส้นใย C-fiber

กระตุ้น T-cell ส่งสัญญาณเข้าสู่ cerebral cortex

thalamus

Limbic system และ Somatosensory cortex

กิจกรรมการพยาบาล -ประเมินความปวดของผู้ป่วย ด้วย pain score -จัดท่านอนให้บริเวณที่ทำการผ่าตัดอยู่ในท่าที่สบายและวางสูงกว่าระดับหัวใจเพื่อลดอาการบวมและช่วยในการไหลเวียนเลือด -ดูแลให้ผู้ป่วยทำกายภาพบำบัด -ดูแลให้ยาบรรเทาอาการปวด ได้แก่ Pethidine 25 mg

somatic pain ตื้อๆ ทราบตำแหน่งปวด

Permeability ของหลอดเลือดสูงขึ้น

พลาสม่า , เอนไซม์ และเม็ดเลือดขาวซึมออกมา

ทำให้บวมและ serum ซึม

เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด

O : ข้อมูลในห้องผ่าตัด -เวลาที่ใช้ในการผ่าตัด คือ 1 ชม. -วิธีนำสลบ คือ Spinal Block -Blood gr = 30 ml -Urine output = 40 ml

การพยาบาล -ประเมินสัญญาณ คือ ความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ -ดูแลให้ได้รับสารน้ำและแนะนำกิจกรรมให้ดื่มน้ำ 1,000-2,000 cc. -ดูแลให้นอนราบ 6 ชั่วโมง -ประเมินการปัสสาวะของผู้ป่วย (I/O)

Spinal Block

ก่อนการผ่าตัด

กิจกรรมการพยาบาล -ประเมินความพร้อมของร่างกาย -เตรียมผล Lab, EKG , X-ray Film -จองเลือด PRC 2 unit -งดน้ำงดอาหารก่อนผ่าตัด 6 ชั่วโมง -เซ็นใบยินยอมก่อนการผ่าตัด

skin traction

ภาวะ Pumonaly embolism

เกิดจากการไหลเวียนเลือดลดลงเนื่องจากไม่ได้เคลื่อนไหวเป็นเวลานาน

ทำให้เกิดลิ่มเลือดขึ้นในหลอดเลือดบริเวณขา

เมื่อลิ่มเลือดหลุดเข้าไปสู่บริเวณหลอดเลือดดำ Inferior หรือ Superior vena cava

ก่อนผ่านเข้าหัวใจห้องขวาและหลุดมาอุดกั้นที่หลอดเลือดในปอด

ปริมาณเลือดที่่ผ่านปอดมาสู่หัวใจห้องซ้ายลดลง

ทำให้ cardiac out put ลดลง

ผู้ป่วยจะมีความดันโลหิตลดต่ำลง เกิดภาวะช็อคและมีโอกาสเสียชีวิตได้

เป็นวิธีการรักษาโดยอาศัยแรงดึงกระดูกที่ใช้แรงตรึงของผิวหนัง

เพื่อลดความเจ็บปวด ป้องกันกระดูกหักเคลื่อนที่ ป้องกันอันตรายจากกระดูกที่หักที่จะไปทำลายหลอดเลือดและเนื้อเยื่อโดยรอบ

การดูแล Skin traction

1.Counter - traction แรงดึงในทิศทางตรงกันข้ามกับผู้ป่วย 2. Non friction แนวแรงต้องไม่แตะหรือพิงกับขอบเตียง ต้องแขวนลอยอิสระ 3.Continuous traction 4.แนวของการดึงต้องผ่านกระดูกที่หัก 5.จัดท่าการเคลื่อนไหวต้องอยู่ในแนวแรงของน้ำหนัก

ปวดและบวมผิดรูป ลักษณะเขียวคล้ำ จ้ำเลือด ขาข้างที่หักสั้นกว่าขาข้างปกติ
หลั่งสาร Histamine

ทำให้หลอดเลือดขยายตัว

เกิดการเพิ่ม Permeability ของหลอดเลือด

ทำให้สารน้ำและโปรตีนเคลื่อนที่ออกจากหลอดเลือด ไปยังช่องระหว่าง cell

บวม

เมื่อกระดูกหักทำให้เนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบได้รับบาดเจ็บ

หลั่งสารเคมี Prostaglandin เช่น Bradykinin Histamine serotonin

กระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกปวด

เกิดกระแสไฟฟ้าในรูปสัญญาณประสาท

เส้นใยประสาทขนาดเล็ก

C-fiber

A-delta

ส่งสัญญาณประสาทไปยัง Ricular Formation ที่ก้านสมอง

Hypothalamus

แปลสัญญาณ

ปวด

กิจกรรมพยาบาล -ประเมินความปวดของผู้ป่วย ด้วย pain score -จัดท่านอนให้บริเวณที่หักอยู่ในท่าที่สบาย -ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล -ดูแลให้ยาบรรเทาอาการปวด ได้แก่ Tramal 50 mg v ̅ prn q ̅ 6 hr , Morphine 3 mg v ̅ prn q ̅ 4 hr

ข้อมูลสนับสนุน -Pain score = 7 คะแนน -สีหน้าของผู้ป่วยแสดงความปวด

ชนิด visceral Pain ทื้อๆ ไม่ทราบตำแหน่งที่ชัดเจน