по Saran Rakwong 9 лет назад
3481
วัฒนธรรมทางการเมืองที่เน้นความสำคัญของตัวบุคคล
ความนิยมของประชาชน คือ ความนิยมในตัวผู้นำ
นโยบายของรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
การกลับคืนมาของการปฏิวัติ รัฐประหาร
ความพยายามร้างอำนาจเผด็จการทางรัฐสภา
ความพยายามในการลดบทบาททางการเมืองของทหาร
การเติบโตของชนชั้นกลางทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง
รัฐบาลผสม
รัฐบาลพรรคเดี่ยว
มาตรา ๑๑๒
รัฐธรรมนูญของมวลชน
การประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐
พฤษภาทมิฬ ๒๕๓๕
๖ ตุลา ๑๙
ขบวนการนิสิตนักศึกษา ๑๔ ตุลา ๑๖
การยกเลิกรัฐธรรมนูยและประกาศใช้ธรรมนูญการปกครอง(มาตรา ๑๗)
การปกครองแบบเผด็จการทหารและการปฏิวัติรัฐประหารกลายเป็น วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย
กรุงเทพมหานครกลายเป็นเมืองโตเดียว
ปัญหาชุมชนแออัด
การลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิตประเภทต่าง ๆ
การขยายตัวของชนชั้นกรรมกรและผู้ใช้แรงงาน
การสร้างนริษัทในเครือ
การเป็นเจ้าของอุตสาหกรรมการผลิตเป็นหลัก
นายทุนชั้นสูง
นายทุนเชื้อสายจีน กลุ่มใหม่
นายทุนต่างชาติอเมริกา ญี่ปุ่น
การขยายตัวของชนชั้นนายทุน
นโยบายสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ
นโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นตลาดการค้า ๒๕๓๑ (พลอกชาติชาย ชุณหะวัณ)
ส่งเสริมการท่องเที่ยว
ข้าว ปอ มันสัมปะหลัง
การจัดตั้งรัฐวิสหากิจ
การส่งเสริมการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
การสร้างโครงสร้าพื้นฐานทางเศรษฐกิจง
การสนับสนุนการลงทุนจากต่างชาติ
การจัดตั้งะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
การพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติฉบับที่ ๒ ๒๕๑๐-๒๕๑๔
แผนพันฒนาเศรษฐกิจแบะสังคมของชาติฉบับที่ ๑ ๒๕๐๔-๒๕๐๙
การกำหนดแผนการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
กองทัพ เป็น ฐานอำนาจที่เข้มแข็งของสถาบันกษัตริย์
การสถาปนา "พระราชอำนาจนำ" ของกษัตริย์
การสร้างพะราชฐานที่ประทับในต่างจังหวัด
การจัดให้เสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศ ๒๕๐๓
การเสด็จออกเยี่ยมราษฎรในส่วนภูมิภาค
การสนับสนุนให้กษัตริย์ประกอบพระราชกรณียกิจต่าง ๆ
การฟื้นฟูพระราชพิธีและประเพณีสำคัญที่ยกเลิกไปโดยคณะราษฎร
สถาบันกษัตริย์ในฐานะศูนย์รวมของจิตใจประชาชน
นโยบายการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์
รัฐบาลไทยดำเนินนโยบายตามสหรัฐอเมริกา
การยกยอยสหรัฐฯในฐานะมหามิตร
การตั้งฐานทัพสหรัฐฯในไทย
สงครามเวียดนาม
การก่อตั้งองค์การ SEATO
การเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประาชาติของไทย
บทบาทของ USAเพิ่มมากขค้นในภูมิภาค
ภาวะสงครามเย็นและผลกระทบต่อ SEA&THA
การสืบทอดอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจร
การเกิดขั้วอำนาจของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์
หมดยุคคณะราษฎร ๒๕๐๑-๒๕๐๖
การต่อต้านแนวคิด คอมมิวนิสต์
ความสำคัญของกองทัพภายใต้สภาวะสงครามเย็น
การกลับมามีอำนาจของจอมพล ป. สมัยที่ ๒ ภายใต้การสนับสนุนของกองทัพบกและตำรวจ
จอมพล ป. ถูกโหวตออกจากสภา
ขบวนการเสรีไทย
บทบาทในการช่วยให้ประเทศไทยไม่ตกอยู่ในฐานะระเทศแพ้สงคราม
ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
ข้าราชการและปัญญาชนไทยในต่างประเทศเป็นกำลังสำคัญ
การติดต่อประสานงานกับฝ่ายสัมพันธมิตร
การตัดสินใจของนายปรีดีย์ พนมยงคในการต่อต้านญี่ปุ่น
การส่งเสริมงานหัตถกรรมและการบริโภคสินค้าที่ผลิตขึ้นในประเทศ
ไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ
ตอนนั้นขาดแคลน สินค้าอุปโภค บริโภค
ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกผ่านไทยพม่า มลายู
เพื่อสร้างทางรถไฟไปสู่อินเดีย
ไม่เรียก "นายก" แต่เรียก "ท่านผู้นำ"
นโยบายการสร้างชาติทางวัฒนธรรมประจำชาติ (หลวงวิจตรวาทการเป็นที่ปรึกษา)
สตรีมีโอกาสแสดงบทบาททางสังคมมากกว่าเดิม
จัดตั้งสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
การจัดตั้งกระทรวงวัฒนธรรม
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
วิทยุกระจายเสียง กรมโฆษณาและ การหนังสือพิมพ์ เป็นสื่อหลัก
นโยบาย "รัฐนิยม" นโยบายเพื่อสร้างความเป็นอารยะให้ชาติไทย
การเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่
มหรสพ และการรื่นเริง
รำวงมาตรฐาน
รำโทน
ฐานะของหญิงและชาย เท่าเทียมกัน
หญิง แม่ดอกไม้ของชาติ
ชาย พ่อรั้วของชาติ
เพลงปลุกใจ ละครปลุกใจ
กาหลักเกณฑ์ในการเขียนภาษาไทย
ห้ามการกินหมากพลู
การสวมรองเท้า ห้ามนุ่งโจงกระเบน
การแต่งการ "มาลานำไทยไปสู่มหาอำนาจ"
นโยบายสร้างความเป็นปึกแผ่นมั่นคงของชาติ
การสงเสริมการศึกษาและเรียบเรียงประวัติศาสตร์ของชาติในแนวชาตินิิยม
การเปลี่ยนชื่อประเทศ สยามเป็น ประเทศไทย
การทำสงครามอินโดจีนกับฝรั่งเศส
การปลูกฝังแนวคิดทหารนิยมแาวชัน
ทุกวันพุธต้องแต่งเครื่องแบบ
การฝึกยุวชนทหาร
งบประมาณส่วนใหญ่เพ่อการทหาร
การสร้างแสงยานุภาพของกองทัพ
นโยบายเศรษฐกิจแบบชาตินิยม
ดึงพ่อค้าและนักธุรกิจชาวจีนบางกลุ่มเข้ามาเำเนินกิจการภายใต้การอุปถัมภ์และการดูแลของรัฐบาล
ลดบทบาททางเศรษฐกิจของชาวจีน
สงวนอาชีพให้ชาวไทย
บังคับซื้อกิจการของต่างประเทศมาเป็นของรัฐ
การใช้ำอำนาจรัฐเพื่อสงเสริมให้ชาวไทยเข้ามีมีบทบาททางเศรษฐกิจ
การโฆษณาชักชวนให้ประชาชนคล้อยตามนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
ทุนนิยมโดยรัฐ
ความเป็นผู้นำที่มีความสำคัญเท่ากับประมุขของรัฐ
ความเชื่อที่ว่า ความอยู่รอดของประเทศอยู่ที่ผู้นำ
ดำเนินตามนโยบายของผู้นำที่เห็นว่าจะเป็นการนำไทยไปสู่ความเป็นอารยะ (ยิ่งใหญ่)
"เชื่อพิบูลสงครามชาติปลอดภัย"
"เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย"
ชาตินิยม+อำนาจนิยม เท่ากับ ลักษณะเด่นทางการเมือง
งบประมาณทางการทหารเป็น ๑/๓ของรายได้ประชาชาติ
พลตรีหลวงวิรวาทการ
ที่ปรึกษาทางวัฒนธรรม
ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร
สร้างวัฒนธรรมผ่าน ดนตรีและการละคร
กระแสความคิดชาตินิยมและทหารนิยม
การเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศสในปลายปี ๒๔๕๓
การประกาศสละราชสมบัติของ ร.๗
ความขัดแย้งเรื่องสถานภาพของกษัตริย์และพระราชวงศ์
ความขัดแย้งเรื่องการผูกขาดอำนาจทางการเมืองของคณะราษฎร
ความขัดแย้งเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ความขัดแย้งระหว่าง ร.๘ กับคณะราษฎร
ความขัดแย้งในเชิงอุดมการณ์และความคิด และความขัดแย้งในการแสวงหาอำนาจทางการเมือง
กลุ่มพันโทหลวงพิบูลสงคราม
อำนาจนิยมใช้ทหารจัดการ
กลุ่มปรีดีย์ พนมยงค์
นักวิชาการเน้นความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสยามเชิงเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจสังคมนิยม
ถูกมองว่านำไปสู่ คอมมิวนิสต์
กลุ่มที่ขัดแย้งกัน
ปรากฏการของการแต่งตั้งนายกฯ นายกไม่ใช่บุคคลในคณะราษฎร คือ พญามโนปกรนิติทาดา ซึ่งสำเร็จการศึกษาด้านกฎหมายจากอังกฤษ ต่อมาจึงเกิดรัฐประหารโดยหัวหน้าคณะราษฎร
กลุ่มนายทหารชั้นผู้ใหญ่ กับ กลุ่มนายทหารหนุ่ม
กลุ่มนายทหารชั้นผู้ใหญ่+นายกรัฐมนตรี กับ พลเรือน
กลุ่มขุนนางเก่า กับ กลุ่มคนรุ่นใหม่
ภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมของคณะผู้ก่อการมความแตกต่างกัน
ขาดความเป็นเอกภาพในคณะราษฎร
ช่องว่างทางภูมิปัญญาระหว่างคณะผู้ก่อการกับประชาชันส่วนใหญ่
ขาดการวางแผนและโครงการระยะยาว
ขาดความจริงใจต่อระบอบประชาธิปไตย
ขาดอุดมการณ์ร่วม
การยกเลิกบรรดาศักดิ์และยศข้าราชการพลเรือน
กำหนดเครื่องแบบข้าราชการให้เป็นสากล
การยกเลิกพระราชพิธีแบบจารีำตที่ไม่สอดคล้องกับระบอบการปกครองแบบใหม่
พิธีพืชมงกล และพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
การยัมปวาย (โล้ชิงช้า)
สจจปานกาล หรือพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา
เป็นตลาดวิชา
มหาวิทยาลัย"เปิด"แห่งแรกของไทย
ความจำเป็นต้องมีบุคคลที่มีความรู้ทางกฎหมาย การปกครองและสังคมมารับใช้ประเทศชาติโดยด่วน
การก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
จุฬาฯสร้างคนมารับราชการ แต่ที่ำเป็นจริง ๆ คือต้องรู้กฎหมายเพื่อรับใช้ประชาชน
หัลก ๖ ประการของคณะราษฎร
การสร้างความเสเมอภาค
มีการศึกษาที่เสมอภาคกัน
มีสิทธิทางเศรษฐกิจ
มีสิทธิส่วนร่วมทาการเมือง
การเผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตยของคณะราษฏร
การพัฒนาบทบาททางการเมืองของข้าราชการฝ่ายทหาร
การพัฒนาบบาททางการเมืองของนักการเมืองสามัญชน
จัดตั้งพรรคการเมืองและจัดการเลือกตั้ง
ข้าราชการที่มาจากสามัญชน(พวกจบนอก)เข้าไปดำรงตำหแหน่งแทนที่พระบรมวงศานุวงศ์
พระราชวงศ์ชั้นสูงหมดบทบาททางการเมือง
อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
สถานะของกษัตรย์
อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
การก้าวขั้นมีมีบทบาทโดเด่นของสถาบันทหารในสังคมไทย
อารยธรรมไทยมีความยืดหยุ่นที่สามารถปรับเข้ากับอารยธรรมจากภายนอกได้
อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกในการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในอารยธรรม
เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบจารีตไป
ผลของการเพิ่มจำนวนปัญญาชนไทย โดยเฉพาะที่ไปเรียนเมืองนอก
ปัญญาชนชาวไทย หมายถึงสามัญชนด้วย
ผลของการขยายตัวของการศกษาแผนแบบตะวันตกแผนใหม่ในสยาม
คนไทยขาดการศึกษาแผนใหม่ ที่เพียงพอจะเป็นพื้นฐานในการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕
การเพิ่มจำนวนของปัญญาชนชาวไทย
การปลูกฝังความคิดชาตินิยมในสมัย ร.๖
การปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยใน ร.๕
จากราชาธิปไตยสู่ประชาธิปไตย
การปฏิวัติของคณะราษฎร
๒๔ มิ.ย. ๒๔๗๕
คณะราษฎรยึดอำนาจ
การสูญเสียอำนาจและบทบาททางการเมืองของกลุ่มเจ้านายชั้นสูง
การเปลี่ยนแปลงไปสู่การปกครองระบบประชาธิปไตยซึ่ง กษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
หลวงประดิษฐฺมนูธรรม(ปรีดีย์ พนมยงค์)
พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา(พจน์ พหลโยธิน)
เรียนการทหารที่เยอรมัน
ทหารและพลเรือน
กลุ่มปัญญาชนที่ไปเรียนเมืองนอก
ความพยายามไปให้ถึงระบอบประชาธิปไตย
กลุ่มที่รอไม่ไหวเกิดเป็นคณะราษฎร
Problem of Siam
พระยากัลยาณไมตรี (Dr.Francis B. Sayre)
ทดลองร่างรูปแบบของรัฐสภา
An Outline of Charge in th form of Goernment
Ountline of Preliminary Draft
การเตรียมการพระราชทานรัฐธรรมนูญของร.๗
ปฏิกิริยาร.๖ต่อกระแสเรียกร้องประาธิปไตย
สร้างเมืองจำลองเพื่อทดลองระบอบประชาธิปไตย
ดุสิตธานี
ที่วังพญาไท
การให้เสรีภาพ นสพ.
การแสดงพระองค์ว่าทรงเข้าพระทัยในระบบประชาธิปไตย
การปลูกฝังความคิดชาตินิยม
ทำธงชาติ
พระราชนิยมส่วนพระองค์ในระบสมบูรณายาสิทธิราชย์
ความเคลื่อนไหวเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.ศ.๑๓๐
ไม่สำเร็จ กบฎ ร.ศ.๑๓๐
บทความวิพากษ์ เสียดสีชนชั้นสูง และพวกได้แนวคิดหัวก้าวหน้าสุดโต่าง
เทียนวรรณ
นสพ.ตุลวิภาคพจนกิจ
ความคิดทางการเมืองของกลุ่มปัญญาชนในสมัย ร.๕
พระยาสุริยานุวัตร (เกิดบุญนาค)
ตั้งคำถามกับระบบกษัริย์
กศร. กุหลาบ
เขียนหนังสือ สยามประเทศ
แสดงความท้าทายระบบสมบูรณายาสิทธิราชย์
ตั้งคำถามระบบกษัตริย์
คำกราบบังคมทูล ร.ศ.๑๐๓
ความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
วิถีชีวิตชาวกทม.
มีความเป็นเมืองและสากลมากขึ้น
วรรณกรรมและบทละครแนวตะวันตก
อิทธิพลศิลปกรรมแบบตะวันตก
เข้ามาเป็นฐาน งานสร้างสรรค์ งานศิลป์ตั้งแต่ร.๕เป็นต้นไป
พุทธศาสนาแบบมีเหตุผล
ธรรมยุตินิกาย
แนวคิดชาตินิยม
อุดมการณ์ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ขนบธรรมเนียมไทยเหมาะกับยุคสมัย
ยกเลิกหมอบเฝ้า (แต่ไม่ทั้งหมด)
การปฏิรูปบ้านเมืองในร.๕
การเลิกทาศและระบบไพร่รระยะยาว
โครงสร้างสังคมไทยเปลี่ยน
พรบ.เกณฑ์ทหาร๒๔๘๘
พรบ.เลิกทาศ ๒๔๔๘
ให้ประโยชน์เฉพาะลูกทาศที่กำเนิดในปีเดียวกับร.๕
อายุ ๒๑
การโอนอ่อนผ่อนผันอย่างสุขุม
ขจัดการข่มเหงและความอยุติธรรมในสังคม
การพัฒนาการสาธารนูปโภค
กิจการโรงพยาบาล
ศิริราช
การตัดถนนแบบตะวันต
ราชดำเนิน
ใน
กลาง
นอก
การรถไฟ
สายปากน้ำ
ลำเลียงกองทัพและยุทธปัจจัย
การไปรษณีย์โทรเลข
เริ่มมีการวางเครือข่ายโทรศัพท์
สำเร็จในร.๖
การไฟฟ้า การประปา
การปฏิรูปการศึกษา
ให้ความสำคัญกับการศึกษาภาคบังคับ
พระราชบัญญัติประถมศึกษา ๒๔๖๔
กำเนิดการอุดมศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การตั้งทุนเล่าเรียนหลวง
การเปิดสถานศึกษาเฉพาะทางเพื่อผลิตบุคลากรเข้ารับราชการ
บทบาทของสถาบันสงฆ์ในการช่วยจัดการศึกษ
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
การขยายโรงเรียนออกสู่หัวเมือง
การขยายโรงเรียนออกไปสร้างเป็นเอกเทศ
การเปิดโรงเรียนโดยเริ่มในเขตวัด
การวางรากฐานการศึกษาแผนใหม่ตามแนวตะวันตก
การปฏิรูปการเกษตร
บริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม
ให้เอกชนมาขุดคลอง
การขุดคลองรังสิตและเปิดขยายพื้นที่ทำนา
การชลประทานทุ่งรังสิต
การขุดลอกคลองเดิมที่มีอยู่
พัฒนาให้เป็นลองที่ฝันน้ำไปสู่ที่ทำนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสำรวจเพื่อสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำเจ้าพระยา
จัดจ้างวิศวกรชลประทานชาวฮอลันดา
แบบตะวันตก
การตั้งชลประทานและพัฒนาการจัดสรรทรัพยากรน้ำแบบใหม่
จัดตั้งกรมทดน้ำ หรือกรมชลประทาน
ขยายพื้นที่ทำนาสำหรับปลูกข้าว
ส่งออกข้าว
การปฏิรูปทางเศรษฐกิจ
ประกาศใช้ธนบัตรและเงินตรา
เริ่มจ่ายเงินเดือนข้าราชการในอัตราที่แน่นอน
การยกเลิกระบบเจ้าภาษีนายอากร
เกิดกรมสรรพากร
ลดจำนวนบ่อนเบี้ย
การเริ่มทำงบประมาณแผ่นดิน
การปฏิรูปการคลังของแผ่นดิน
หอรัษฎากรพิพัฒน์ กลายเป็น กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
ระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ กลายเป็นระบบเศรษฐกิจแบบส่งออก
ข้าว
เปิดพื้นที่ทำนาในเขตทุ่งรังสิต
ระบบผูกขาดการค้า กลายเป็นระบบการค้าเสรี
การทำสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์กับชาติตะวันตก (สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง)
การรักษาความสงบภายในและการป้องกันประเทศ (การพัฒนาระบบการทหารและกิจการตำรวจ)
สถาปนากิจการตำรวจนครบาลและตำรวจภูธร
ตั้งกองตระเวณ
ดูแลความสงบภายในเขตเมือง
สถาปนาสถาบันการศึกษาของทหาร
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
การสร้างบุลากรทางทหารแนวใหม่
พระราชบัญญัติเกณฑ์ทหารแทนระบบไพร่
แต่ก็ยังไม่เป็น ทหารอาชีพ
การฝึกทหารและสอนการยุทธศาสตร์แบบตะวันตก
ความตั้งใจในการสร้าง"ทหารอาชีพ"
เล่าเรียนมาเฉพาะทางตามแบบตะวันตก
เริ่มมาตั้งแต่ใน ร.๔
การปฏิรูปกฎหมายและการศาล
การสร้างบุคลากรทางกฎหมาย
ส่งพระราชโอรส นักเรียนเก่งๆ ไปเรียนเมืองนอก
การจัดตั้งโรงเรียนกฎหมาย
ทำประมวลกฎหมายใหม่โดยยึดแนวทางกฎหมายแบบยุโรป
กฎหมายเยอรมัน
ยกเลิกการใช้ประมวลกฎหมายแบบจารีต(กฎหมายตราสามดวง)
การปฏิรูปการเมืองการปกครอง
การประพาสต้น
ไประสิทธิภาพของระบบบานเมือง
ทดลองการบริหารงานส่วนท้องถิ่น
สุขาภิบาลท่าฉลอม จ.สมุทรสาคร
ยกเลิกระบบหัวเมือง รอบเมืองเล็ก ๆ เป็นมณฑล
มณฑลเทศาพิบาล
ตามแบบอังกฤษ
การตั้งกระทรวง ๑๒ กระทรวง(ตอนนั้นยังไม่ใช้คำว่ากระทรวง)
รวมอำนาจเข้าสู่ศูย์กลาง
ยุบเลิกโคงสร้างการปกครองตั้งแต่สมัยพระบรมไตรโลกนาถ
อัครเสนาบดีและจตุสดมภ์
กระจายอำนาจเจ้านาย ขุนนาง ทำให้กษัตริย์ไม่มีอำนาจจริง ๆ
การปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่ พ.ศ.๒๔๒๕
พระราชดำริในการทำ คอเวอนเมนต์ รีฟอร์ม
คำกราบบังคมทูล ร.ศ.๑๐๓ คือรัฐธรรมนูญ รัฐสภา
ร.๕ ปฏิเสธเพราะคิดว่ายังไม่พร้อม
การสร้างบุคลากรสำหรับบริหารการปฏิรูปและขยายขอบข่ายการปฏิรูปประเทศตามแนวทางตะวันตกทุกด้านไปพร้อม ๆ กัน (ปฏิรูปแบบพลิกแผ่นดิน)
การรับอารยธรรมตะวันตกด้านต่าง ๆ เข้ามาสร้างความเจริญและแก้ไขปัญหประเทศ
การนำพาประเทศสยามเข้าสู่เวทีโลก
ประพาสยุโรป ๒ ครั้ง
๒๔๕๐
๒๔๔๐
เป็นการะบวนการต่อเนื่องจากร.๔
การปฏิรูปบ้านเมองในร. ๔
การทำให้สยามเป็นที่ยอมรับของตะวันตกว่าเป็นชาติที่มีอารยะ
ประชาสัมพันธ์ประเทศว่าเปลี่ยนแปลงอย่างไรผ่านนสพ.สิงคโปร์ ซึ่งตอนนั้นเป็นอาณานิคมอังกฤษ ชื่อว่า News State Times
การปรับเปลี่ยนขนบธรรมเนียมประเพณีในราชสำนักให้มีความเป็นตะวันตก
สร้างหมู่พระที่นั่งแบบตะวันตก
หมู่พระที่นั่งอภิเนาว์นิเวศน์
การปรับปรุงสาธารนูปโภคในราชธานีเป็นรูปแบบตะวันตก
ตัดถนน
เฟื่องนคร
บำรุงเมือง
เจริญกรุง
ส่งเสริมการศึกษาภาษาอังกฤษและวิทยาการตะวันตกในตระกูลชั้นสูง
ยกเลิกการผูกขาดสินค้าและพระคลังสินค้า --การค้าเสรี
การเปิดประเทศทำสนธิสัญญาทางไมตรีและพาณิชย์กับตะวันตก
สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง (18 APR 2398)
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการปรับปรุงบ้านเมือง
บทบาทของชนชั้นนำหัวก้าวหน้าที่เรียนรู้วิทยาการตะวันตก
ก้าวขึ้นมามีอำนาจและปฏิรูป ปรับปรุงบ้านเมือง
การขาดประสิทธิภาพของระบบต่าง ๆ ในราชอาณาจักร
ภัยคุกคามจากลัทธิจักรวรรดินิยม
อังกฤษได้อินเดีย
กำลังขยายอิทธิพลมาเอเชียอาคเนย์
การเกิดกลุ่มชนชั้นนำหัวก้าวหน้า
ประกอบด้วย
บุตรหลานของเสนาบดีในตะกูลบุญนาค
เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุญนาค)
สมัยร.๓ ๔ เป็นตัวแทนหัวก้าวหน้า
เป็นผู้จัดการให้ร.๕ ทรงศึกษาความรู้แบบตะวันตกเพื่อปกครองบ้านเมือง
ในสมัยร.๕ กลายเป็นอนุรักษ์นิยม
สมเด็จเจ้าพระยาบรมหาศรีสุริยวงศ์
ดำรงค์ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมัย ร.๕
ภาษาอังกฤษ และ วิชาการต่อเรือ
เจ้านายที่เป็นอนุชา ร.๓
พระเจ้บรมวงศ์เธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท
พระราชโอรสในร.๒ เกิดจากเจ้าจอม
เป็นกำลังสำคัญในการทำสนธิสัญญากับชาวตะวันตก
วิชาวิชาแพทย์แผนตะวันตก
ศึกษาอังกฤษอย่างแตกฉาน
พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
ร.๔ สถานาเป็นกษัตริย์องค์ที่สองในแผ่นดินเดียวกัน
ศึกษาอังกฤษ จนเชี่ยวชาญถึงขั้งแปล "ตำราปืนใหญ่" ได้
สร้างปืนใหญ่ เรือรบ
เทคโนโลยีทางยุทธศาสตร์แบบตะวันตก
วิาการทหารราบ ทหารปืนใหญ่และทหารเรือแบบตะวันตก
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรค์ ในสมัยร.๓ (น้องต่างมารดาของร.๒)
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงเล็งเห็นว่าสยามจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงจากการเผชิญหน้ากับชาวตะวันตก
ปราชญ์ผู้รู้ธรรม และ ผู้นำหัวก้าวหน้า
บทบาทเชื่อมอารยธรรมเก่าขอไทยเข้ากับอารยธรรมตะวันตก
ทรงเป็นหนึ่งในชชั้นหัวก้าวหน้าตั้งแต่สมัยร.๓
การอยู่ในามณเพศ
มีโอกาสเปิดโลกทัศน์ และใกล้ชิดราษฏร
ทรงครองสมณเพศตลอดสมัย ร.๓
พระวชิรญาณภิกขุ
เห็นความจำเป็นในการถ่ายทอดความรู้แบบตะวันตกสู่ลูกหลานและผู้ใต้บังคับบัญชา
สนใจติดตามเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงนอกภูมิภาค
ทางหนังสือพิมพ์จากสิงคโปร์
นำความรู้ตะวันตกมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ใส่ใจการศึกษา อังกฤษและความรู้แบบตะวันตก
ปฏิกิริยาของกษัตรย์กับ ตะวันตก
แบบอนุรักษ์นิยม
นโยบายรับกเข้ามาของตะวันตกแต่ไม่เต็มที่ (มีความระแวง)
เริ่มเกิดช่วงปลาย ร.๓
ชาวตะวันตกที่รัฐบาลสยามจ้างไว้ทำงาน
ตัวแทนของรัฐบาลประเทศตะวันตก
สมัยร.๒ มีกงสุลโปรตเกต
พ่อค้าและนักธุรกิจ
ทำอุตสาหกรรม
การแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติ
ดีบุก
เหมืองแร่
ป่าไม้
มิชชันนารี่
หมอบรัดเลย์
เข้ามาถ่ายทอดภาษาและวิทยาการสมัยใหม่ พร้อมกับเผยแผ่นศาสนาศริสต์
อังกฤษ เยอรมัน อเมริกา
โปรเตสแตนท์่
บาทหลวง และ คณะเซอร์(แม่ชี)
คาทอลิก
เผยแพร่คริสตศาสนาในเอเชียและแอฟริกา
สถาปนาระบอบอาณานิคม (Colonial)
การใช้กำลังเข้ายึดครอง
ภาระของคนผิวขาว (White Man Burden)
การเผยแพร่อารยธรรมตะวันตก
การขยายอิทธิพลทางการเมือง
การแสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
โลกทัศน์เรื่องความเป็นอารยธรรมในโลก
ทำให้นอื่นซิวิไลซ์ตามไปด้วย
ผ่านงานค้นพบของ ชาร์ลดาร์วิน
มาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงทางอารยธรรม
เศรษฐกิจเสรีนิยม
การปฏิวัติวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การติดต่อกับตะวันตกในสมัยร.๑ ๒ ๓
ชาวตะวันตกกลับเข้ามาติดต่อกับสยามอีกครั้งสมัยธนบุรี
หยุดไปสมัยเสียกรุง
ศิลปะ
ร.๓ ทัศนศิลปเปลี่ยนแปลง
อิทธิพลศิลปะจีนและตะวันตก
ศรัทธาในพุทธสาสนาของกษัตริย์
สร้างและปฏิสังขรวัด
วัดที่สร้างหม่ทั้งวัดจะใช้วัดที่มีศิลปะจีน
ศิลปะพระราชนิยม
วัดนอกอย่าง
วัดไหนมีศิลป์ไทยประเพณี จะคงสภาพไว้
ความพยายามแสดงคติจักรพรรดิราช (แรงบันดาลใจสร้างงานศิลป์)
ร.๒ เอาใจใส่การสร้างงานศิลปะเหมือนเป็นชีวิต
ดนตรี
การแสดง
วรรณกรรม
ทัศนศิลป์
การฟื้นฟูงานฝีมือช่างปลายสมัยอยุธยา โดยราชสำนักร.๑ ทั้งฝ่ายวังหลวงและวังหน้า
ทำอย่าง"สุดฝีมือ"
เกิดสกุลช่าง
สกุลช่างวังหน้า
สกุลช่างวังหลวง
มีความละเอียดและประณีต
สรุปโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทย
เรียนรู้วิทยาการต่าง ๆ จากฝรั่งทั้งหมด โดยไม่เอาอย่างฝรั่งทั้งหมด
ฝรั่งตะวันตกเป็นภัยคุกคามที่ต้องระวังมากที่สุด
เวียดนามเป็นคู่สงครามใหม่ต่อจากพม่า
พม่ายังเป็นคูสงครามที่ต้องพึงระวัง
พุทธมีความสำคัญเหนือลัทธิอื่นใด
ราชอาณาจักรมีกษํตริย์เป็นศูนย์กลางและจิตวิญญาณ
ความเสจริญทางอกัษรศาสตร์
การศึกษาภาษาต่างประเทศ
นิยมเฉพาะในกลุ่มชนชั้นนำ
กลุ่มชนชั้นนำหัวก้าวหน้า
เกิดปลาย ร.๓
ภาษาอังกฤษ คือกุญแจไขความรู้
บทบาทของคณะบาทหลวงและมิชชันนารีในการสอนภาษาและความรู้แบบตะวันตก
มีทั้งภาษาตะวันออกและตะวันตก
ความจำเป็นในการติดต่อกับชาวต่างประเทศ
การอนุรัษ์ภูมิปัญญาแบบจารีต
จารึกสรรพวิืทยาการต่าง ๆ ในัดพระเชตุพน
เพื่อมิให้ภูมิปัญญาดั้งเดิมสูญไห และภูมิปัญญาตะวันตกเข้ามา
อักษรศาสตร์เพื่อพัฒนาศักยภาพ
การแปลวรรณดีจากภาษาต่างประเทศ
อิหร่านราชธรรม (นิทาน ๑๒ เหลี่ยม)
ราชาธิราช
สามก๊ก
การชำระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
เอื้อต่อการชอบธรรมในการปกครองของกษัตริย์
ผู้หญิงก็อ่านออกเขียนได้
การเกิดกวีจำนวนมาก
การให้ความสำคัญของการอ่านออกเขียนได้
มรดกทางอักษรศาสตร์จากอยุธยา
ตำราเรียนไทย จินดามณี
วรรณคดีพุทธศาสนา
ปฐมสมโพธิ
วรรคดีการละคร
วรรณคดีโลกทัศน์ใหม่
วรรณคดีนิราศ
พระอภัยมณี
ขุนช้างขุนแผน
วรรณคดีมรดก
อุณรุท
อิเหนา
รามเกียรติ์
กลอนเพลงยาว
ภูมิิปัญญาความคิด
ยิ่งเมื่อมีการติดต่อกับตะวันตกก็มีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
การตื่นตัวในการทำมาค้าขาย
ความตื่นตัวในการศึกษาหาความรู้
ความเชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติน้อยลง
ให้ความสำคัญกับการมีชีวิตในโลกปัจจุบันมากกว่าโลกหน้า
สติปัญญา และความสามารถ ทำให้บรรลุอุดมคติของชีวิตด้วยตนเองได้
ความสำเร็จในการกู้บ้านเมือง
สะท้านโลกทัศน์ในการให้ความสำคัญกับศักยภาพมนุษย์
เกิดแต่ในชนชั้นนำ
สามัญชนยังเชื่อในบุญบารมีอยู่ :(
การเสียอยุธยา
รับรู้ประสบการณ์ที่เป็นจริงมากขึ้น
มีเหตุผลในเชิงประจักษ์มากกว่าอุดมคติ
จากประสบการณ์ข้างต้น ทำให้ผู้นำต้องมีศักยภาพสูงเพื่อากอบกู้บ้านเมืองขึ้นมาใหม่
คนอยุธยามีอดมคติว่า กรุ.ศรีไมมีวันถูกทำลาย
ความเจริญทางเศรษฐกิจ
ระบบการเดินสวนเดินนา
มีสวนผลไม้
อยุธยามีแต่นา
แหล่งเก็บภาษาชั้นดี
ระบบเจ้าภาษานายอากรในร.๓
ให้เอกชน(จีน)ประมูล
ระบบการเก็บภาษีอากร
การทำสัญญาการค้ากับประเทศตะวันตกในร.๒ ร.๓
สนธิสัญญาเบอร์นีย์
ภาษีปากเรือ
การเติบโตของพ่อค้าแม่ค้ารายย่อในตลาด
เป็นกะฎุมพี
ชาวสวน รวย มีอำนาจทางการเงิน (รวยกว่าชาวนา)
การอพยพเข้ามาของคนจีนโพ้นทะเล
ใช้ชาวจีนเป็นแรงงานสร้างสาธารนูปโภค แทนไพร่ที่ลดลง
ช่วงนั้นจีนอดอยาก
สำเภาหลวงและสำเภาเอกชน
การค้าสำเภากับจีน ทำแบบเป็นธุรกิจมากขึ้น
เปิดโอกาสใ้เอกชน ลงทุนค้าสำเภาตัวเองได้
ต้องตามสำเภาหลวงไปบรรณาการจีนก่อน
ผ่านระบบการทูตแบบบรรณาการ
ความมั่งคั่งของราชสำนัก
ความจำเป็นต้องมี เงินคงคลัง เพื่อให้เศรษฐกิจฟื้นตัว
การเมืองระหว่างรัฐ
ต้องแข่งกับ เหงียน (ราชวงเวียดนาม) ในการครอบงำ กัมพูชากับลาว
สงครามในสมัยร.๓กว่า ๑๐ ปี
การพยายามในการฟื้นฟูอิทธิพลเหนือรัฐเพื่อนบ้าน
กรุงกัมพูชา
นครรัฐ หลวงพระบาง เวียงจันทร์ จำปาศักดิ์
หัวเมืองมลายู
หัวเมืองประเทศราช
การเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองและการปกครองต้นรัตนโกสินทร์
การเพิ่มจำนวนกรมกองต่าง ๆ ในระบบบริหารราชการ
การกำหนดตำแหน่งผู้กำกับราชการต่างพระเนตรพระกรรณ
โยนภาระหน้าที่ให้นางให้หมด
กษัตริย์ว่าง
ทุ่มเทศิลปะวัฒนธรรม
วรรณกรรม วรรณคดี
งานช่าง
โขนละคร (ดนตรีและการละคร)
พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์
เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี
การสร้างดุลอำนาจระหว่างพระราชวงศ์และขุนนาง
ร.๒ ให้บุตรชายปฏิบัติราชการของพระองค์ (ุบุญนาค ๒คน)
ทัต เจ้าฟ้ามงกุฏ
ดิถ สมัยร.๓เป็นถึงพญา
บุนนาค
การลดอำนาจพระมหาอุปราชและสมุหพระกลาโหม
การอุปถัมป์ฝ่ายพุทธจักร
การสร้างและปฏิสังขรณ์วัดวาอาราม
การลงทะเบียบพระสงฆ์
มีสังกัดให้เป็นหลักแหล่ง
ให้พระสงฆ์มีอารามอยู่
การพัฒนาระบบการศึกษาพระสงฆ์
การบอกหนังสือพระสงฆ์
การตรากฏพระสงฆ์
การแต่งหนังสือ "ไตรภูมิโลกยวินิจฉัย"
ตีความให้มีความเป็นเหตุผลมากขึ้น
การวิจัยไตรภูมิในทางโลก
การสังคายนาพระไตรปิฎก(ครั้งใหญ่) ที่วัดมหาธตุยุวราชรังสิต
การสร้างสมดุลระหว่างเจ้านายและขุนนาง
การจัดระเบียบนของระบบไพร่ให้ชัดเจนมากข
เกิน ๑๕๐ ให้ขึ้นเป็นไพร่หลวง ที่เหลือแบ่งข้าราชการ)ทรงกรม) และข้าราชการบรหิารด
เพื่อไม่ให้เจ้านายคนไหนมีไพร่ในสังกัดมากเกินไปจนมีอิทธิพ้าทายอำนาจกษัตริย์
ตั้งแต่ร.๒ ลดเวลาเข้าเดือน
ไพร่เข้าเดือนน้อยลง
การค้ารายย่อยดีขึ้น คนจึงมีเงินจ่ายส่วยทำให้ไม่เข้าเดือน
เหลือครึ่งเดือน
ลดไพร่เจ้านายและขุนนางลง
ปรับธรรมเนียมการสถาปนากรมพระราชวังบวร
ขัดแย้ง
กำลังคน
ร.๑ ไม่ให้
บวร่ขอเพิ่มไพร่วังหน้า
การบริหารจัดการงบประมาณด
บวรบอกเพิ่มงบ
ร.๑ บอกลดงบวังหน้า(พระมหาอุปราช)
การแต่งตั้งขุนนางโดยความสามารถ และระบบอุปถัมป์
การให้โอกาสรับข้าราชการรุ่นใหม่
ปลดเก่าและรับใหม่กว่า ๕๐ตำแหน่ง
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารหารหัวเมือง
หัวเมืองชายทะเล
ริดรอนอำนาจสมุหกลาโหม
ไปอยู่ใต้กรมท่า(เจ้าพะยาพระคลัง)
การค้าทางทะเลกับจีน และโดยเฉพาะตะวันตก
มีความสำคัญทางเศรฐกิจตั้งแต่อยุธยา
สำคัญมากขึ้น
แหล่งรายได้สำคัญ (ภาษี)
การชำระพระราชกำหนดกฎหมาย
ชำระเป็น กฎหมายตราสามดวง
ซำซ้อนตีความได้หลายความหมาย
ทั้งสองฝั่งขัดแย้งกันตลอด
การจัดตั้งกรมกองให้มีภาระหน้าที่ชัดเจนขึ้น
ร.๒ ตั้งกรมย่อย
ช่างสิปปหมู่
จตุสดมภ์
กรมคลัง
กรมพระคลังทอง
กรมพระคลังสวน
กรมพระคลังมหาสมบัติ
เวียง
ดูแลความสงบเรียบร้อยของหัวเมือง
กรมมหาดไทย
เจ้าหน้าที่ทรงกรมไม่ได้มีหน้าที่ชัดเจน ได้กรมไปงั้น ๆ
ลดความสำคัญของพิธีการแบบพราหมณ์
ลดบทบาทของพราหมณ์ประจำราชสำนัก
ไม่สร้างเทวสถานขนาดใหญ่
สร้างวิหารสุทัศนศาสดาราม สูงกว่าเสาชิงช้า (ข่มพราหมณ์)
เอามารวมกันที่ โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
ทำพิธีพราหมณ์ไปสร้างความสำคัญกับพระพุทธรูป
การเอาทองคำไปทรงกับพระพุทธรูป
พระราชกำหนดห้ามบูชารูปศิวลึงค์
เป็นการกระทำของคนถ่อย
ไม่มีการสร้างเทวรูป แปลงทรูปเป็นพระพุทธรูป
ยกเลิกพระราชพิธีพราหมณ์ จำนวนมาก
การให้ความหมายใหม่แก่เครื่องเบญราชกกุธภันฑ์
เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์
ฉลองพระบาทเชิงงอน
ความรับผิดชอบต่อผืนแผ่นดินในฐานะพระเจ้าแผ่นดิน
ผืนแผ่นดินทรงเป็นเจ้าของ
พระวาลวิชนี (พัดฝักมะขามและพระแส้ช้างเผือก
พระราชภาระในการปัดเป่าความเดือดร้อน และภัยพิบัติแก่ราษฎร
ธารพระกรชัยพฤกษ์
การเป็นหลักให้กับการบรหาราชการแผ่นดิน
สติปัญญา
พระแสงขรรค์ชัยศรี
ความเป็นผู้นำในทุกสถานการณ์
วีรธรรม
ความกล้าหาญ คุณสมบัติของกษัตริย์
ดาบสองคม
พระมหาพิชัยมงกุฏ
ภาระและความรับผืดชอบอันหนักในการอยู่เหนือคนทั้งปวง
เป็นบุคคลอันสูงสุดเหนือคนทั้งปวง
เป็นสิ่งศกดิ์สิทธิ์ ได้รับความเคารพเหมือนเทพเจ้า
เดิมถือเป็นสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่มีการให้ความหมาย
สาระของลัทธิเทวราชากลายเป็นเพียงสัญลักษณ์
ไม่มีการถวายพระนามกษัตริย์เปนเทพเจ้า
มากสุดแค่ พระราม (มนูษย์ วีรบุรุษ)
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
สัญลักษณ์ของการขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน
ราชทินนามเดิม เจ้าพระยาจักรี
ชื่อพระราชวงศ์ มหาจักรีบรมราชวงศ์
พระราชฐานที่ประทับ
เรือนที่ประทับคือ พระราชมณเฑียร
อาคารประกอบ ๒ หลัง
หอพระธาตุมณเฑียร
หอบรรจุพระบรมอัฐิของกษัตริย์ (ร.๑-๓ รวมพระมเหสี ที่เหลือเก็บที่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท)
หอพระสุราลัยพิมาน
ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
หาพระ
มี ๓ หลัง
พระที่นั่งอมรินวินิจฉัย
ที่ว่าราชการ
พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
หอนั่ง (ห้องรับแขก)
พระที่นั่งจักรพรรดิมาน
ห้องบรรทม มีพระแท่นราชบรรจถรณ์
ที่อยู่ของจักรพรรดิราช ไม่ใช่เทวราช
เป็นเรือนแบบคนสามัญ
ไม่เน้นความสำคัญของการสร้าง มหาปราสาทอย่างอลังการ
มีมหาปราสาทหนึ่งแห่งแต่ไม่ใช้เป็นที่ประทับ
พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
เน้นใช้เป็นที่ประดิษฐานพระบรมศพ
ไม่ใช้เป็นที่ประทับ
พระที่นั่ง อมรินทราภิเษกมหาปราสาท
ต่อมาโดนฟ้าผ่า ไฟไหม้ จึ้งสร้างดุสิตฯทับไป
ไม่ใช้ปราสาทเป็นที่พัก
วางผังเหมือนพระราชวัง กรุงศรีอยุธยา แต่รายละเอียดของอาคารสถานที่ไม่เหมือนกัน
กษัตริย์เป็นมนุษย์
ลดความสำคัญของพิธีกรรมแบบพราหมณ์
ลดบทบาท ไม่ได้ไล่
ต้องพึ่งพราหมณ์ในการแต่งตั้ง ฐานะ กษัตริย์
การให้ความหมายใหม่กับ "เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์
ไม่ใช่ของใช้ศักดิ์สิทธฺของเทพเจ้าอีกต่อไป
เน้นความเป็น "จักรพรรดิราช" และธรรมราชาที่ประพฤติปฏิบติได้
อุปถัมพัทธศาสนา
ใช้สาระของลัทธิเทวราชาเป็นเพียงสัญลักษณ์เท่านั้น
ความศรัทธาในพุทธอย่างมีเหตุผล
การสร้างพระราชฐานที่ประทับ
แบบที่มนุษย์เค้าอยู่กัน
แต่สมัยร.๔และ๕ ทำให้กลับมาเป็นแบบเทวราชา
ภาพรวม
มีพระราชปณิธานของความเป็นกษัตริย์อย่างชัดเจน
"ตั้งใจจะอุปถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา ป้องกันขอบขัณฑสีมา รักษาประชาชนและมนตรี" เพลงยาวรบพม่า
ความสามรถทางยุทธศาสตร์ และการทหาร
เป็นกษัตริย์ปถุชน มากกว่าเป็น เทวราช
บรเพ็ญพระองค์เป็นพุทธศาสนกชนบนพื้นฐานของเหตุผล
สร้างฐานอำนาจ ทางการเมืองและความชอบธรรมด้วยคติในพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัด
จากสามัญชนเป็นกษัตริย์
ผ่านระบบราชการ ระบบการพิสูจน์ความสามารถ ไม่ใช่อ้างบารมี
พระบรมราโชบายในการสร้างกรุง
ขยายเมืองต่อได้อีกในกาลหน้า
เสาหลักเมือง
มีสองต้น
วัดพระศรีรัตนศาสดารา
พระพุทธมหามณีรัตรนปฏิมากร
เขตพุทธาวาส
ต้องอยู่ในทำเลที่มีแหล่งผลิตอาหารและ ทางหนีทีไล่
ทำเลปลูกข้าว ฝั่งตะวันออก
ทุ่งวัวลำพอง ทุ่งพญาไทย ทุ่งแสนแสบ ทุ่งบางกะปิ ทุ่งบางเขน
เพระายังเป็นพื้นที่น้ำท่วมถึง (ทะเลตม)
สร้างเป็นพระนครที่มั่นคง ตั้งรับข้าศึก
กำแพงถาวร
สร้างความศักดิ์สิทธิ์ให้พระนคร
มีสิ่งศักดิ์สทธิ์เป็นหลักพระนคร
สถาปนาศาสนาพุทธ และพราหมณ์ (เน้นพุทธ)
สร้างให้เหมือนเมื่อครั้ง "บ้านเมืองยยังดี" = สมัยอยุธยา
การยุติความคิดที่จะกลับไปตั้งราชธานีที่อยุธยาอย่างเด็ดขาด
ไม่อยากเปลืองอิฐ
เอาอิฐจากสภาปัตยกรรมที่อยุธยาสร้าง ทำให้อยุธยาพัง (ไม่ใช่ฝีมือพม่า)
การย้ายศูนย์กลางราชธานีมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา
ชัยภูมิเหมาะสม
ต้องด้วยลักษณะทางพิชัยสงคราม
ชัยภูมิแบบนาคนาม
สร้างวังที่ส่วนกลางของพาญานาค สะดือพญานาค
แม่น้ำเจ้าพระยาคือลำตัวพญานาค
ที่หัวแหลม
แผ่นดินจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ แต่ฝั่งธนเป็นท้องคุ้ง น้ำจะเซาะหายไปเรื่อย ๆ
คำนึงถึง ยุทธศาสตร์ เป็นหลัก
การปฏิสังขรณ์วัดในธนบุรี
ยากที่จะพบงานจิตรกรรม สถาปัตยกรรมในกรุงธนบุรีเพราะถูกซ่อมแซมในสมัยต้นรัตนโกสินทร์
วัดท้ายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม
วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวรารา)
วัดบางหว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆษิตาราม
วัดบางยี่เรือใต้ (วัดอินทาราม)
การสร้างสรรรค์ทางวัฒธรรม
การรวบรวมผลงานวรรณกรรมของสมัยอยุธยา
รวบรวมบทละกรอิเหนา แต่ก็เป็นไปได้อย่าง "จำกัด"
การบำรงพุทธศาสนาและคณะสงฆ์
การรวบรวมพระไตรปิฎกและสร้างสมุดภาพไตรภูมิ
สมภาพไตรภูมิฉบับหลวง
เริ่มมีการวาดแผนที่ตามลักษณะกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ เป็นอิทธิพลตะวันตก
แสดงตำแหน่งที่ตั้งธนบุรี เป็นศูนย์กางชมพูทวีป
เอาพระไตรปิฎกจาก นครศรีธรรมราชมาชำระ และสังคายนา
รวบรวมพระสงฆ์กลับเข้ามาในธนบุรี
ทำได้ในขอบเขตจำกัด
ระยะเวลาจำกัด
๕ ปีต่อมา
ทำอะไรเกี่ยวกับวัฒนธรรมได้ไม่มากนัก
๑๐ปี แรก
สร้างสถานะกษัตริย์ ให้มั่นคง
ฟื้นฟูเศรษฐกิจ
สงคราม
สภาพเศรษฐกิจ
การสงครามที่มีอยู่ตลอดรัชสมัย
เพราะทำสงครามตลอดรัชสมัย (๑๕ ปี) โดยเฉพาะกับพม่า
บำรุงขวัญกำลังใจราษฎร
เพื่อความสืบเนื่องกับความเจริญทางวัฒนธรรมของอยุธยา
การแก้ไขปัญหาความอดอยากของประชาชน
ควบคุม อุปสงค์ อุปทาน
เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร
ผลผลิตข้าวส่วนหนึ่งกันไว้เป็นเสบียงกองทับ อีกส่วนเป็นเสบียงราษฎร
ข้าวหยุดชะงักตั้งแต่กรุงศรีแตก
กระตุ้นประชาชนให้ทำนาปูกข้าว (พื้นที่ท้ายพระราชวังเป็นต้นไป)
การพัฒนาให้ธนบุรีเป็นเมืองท่าสำคัญ
มีเรือสินค้าจากจีน เพื่อนบ้าน ฮอลันดา อังกฤษ
การใช้คนจีนเป็นกลไกทางเศรษฐกิจ
พระเจ้าตากสิน มีเชื้อแต้จิ๋วอยู่แล้ว
โดยเฉพาะ แต้จิ๋ว (จีนหลวง)
การติดต่อกับจีน เพื่อซื้อข้าว
การจะให้ธนบุรีอยู่รอดได้ เหนือพม่า ต้องเอาอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจเหนือเมืองประเทศราชอย่าง เขมรและล้านช้าง ให้กลัมมาสู่อาณาจักร จึงต้องทำสงคราม ไม่งั้นจะไม่อาจกอบกูความเป็นอยุธยากลับมาได้
การสงครามเพื่อรวบรวมราชอาณาจักร
สามารถราบรวมพระราชอาณาเขตได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว
ผู้นำที่เด็ดขาด และกำลังทหารที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์และยุทธวิธีที่มีประสิทธิภาพ
คิดปืนตับ (ยิงทีละมาก ๆ) 00000 00000 ยืนเป็นแถวแล้วยิงทีละตับ 00000
การพัฒนายุทธศาสตร์การรบทั้งทางบกและทางเรือ
ถ้าไม่ทำสงคราม สยามประเทศก็อยู่ไม่รอด
การวางผังเมืองธนบุรี
การเตรียมการใช้พื้นที่ทางฝั่งตะวันออก
มีนโยบายย้ายวังไปฝั่งตะวันออก
พื้นที่ฝั่งตะวันตก เป็นศูนย์กลางเมือง
มีแนวกำแพงและคูเมืองทั้ง 2 ฝั่ง
เมืองอกแตก
แต่ดีต่อธนบุรี
ไม่ดีตามพิชัยสงคราม
การสร้างกรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร
สามารถขยายเมืองได้ต่อไปในอนาคต
ทางตะวันตก มีสวนไร่ผลไม้
มีกำลังเพียงพอจะดูแลรักษาได้ เพราะเป็นเมืองเล็ก
ชัยภุมิที่จำเป็นต่อการสร้างเมืองหลวงในขณะนั้น
ธนบุรีมีป้อมปราการอยู่แล้ว
มี 2 ป้อม
ป้อมวิชัยประสิทธิ์
ป้อมวิไชยเยนทร์
มีความเป็นเมืองอยู่แล้ว
แค่สร้างกำแพงล้อมก็พอแล้ว
เป็นเมืองหน้าด่าน
ทางหนีทีไล่ที่เหมาะสม
ทางออกสู่ทะเล ไปจันทบุรี (ฐานทีมั่นเดิม)
ประกาศให้เห็นว่าสยามประเทศได้ฟื้นตัวจากภัยสงครามแล้ว
การเปลี่ยนความคิดที่จะใช้อยุธยาเป็นราชธานี
ในอยุธยามีกลุ่มอิทธิพลจำนวนมาก
พระองค์ไม่ได้อยู่ในกลุ่มอิิทธิพล
สถานะของกษัตริย์
กษรัตริย์เป็นสามัญมนุษย์ ไม่ใช่เทวราชา
พระราชวังเดิม
เป็นที่ต้องของกองบัญชาการกองทัพเรือ
โรงเรียนนายเรือ
ติดวัดอรุณฯหรือวัดแจ้งในปัจจุบัน
ตำหนักแพ (เรือนแพหน้าพระราชวัง)
ที่ประทับ คอื ตำหนักเก๋งคู่
ท้องพระโรงที่ว่าราชการได้แบบมาจาก "ศาลาลูกขุน" ในสมัยอยุธยา
สร้างที่ประทับอย่างสามัญ ไม่สร้าง"เรือนยอด"หรือ ปราสาท
แสดงออกถึงกษัตริย์ผู้ใฝ่พระทัยในธรรม
การวางพระองค์เป็น"ผุ้นำ" มากกว่า "เจ้าชีวิต"
ต่อต้านธรรมเนียมระบบราชการแบบอยุธยา
ความสามารถทางยุทธศาสตร์และการรบ
เป็นขุนนางฝ่ายทหารที่ต่อต้านระบบราชการของอยุธยา
เป็นผู้นำในการรบในสมัยอยุธยา
มีพ้ื้นฐานมาจากสามาัญชน
กระบวนการเลื่อนชนชั้นทางสังคมด้วยความสามารถ
การสืบต่อระบบการเมือการปกครอง กฏหมาย และศาล จากอยุธยา
ความพยายามในการปลูกจิตสำนึกประชาชนให้ระลึกถึงอยุธยา
มีความตั้งพระทยที่จะรวบรวมพระราชอาณาเขให้ได้ดังเดิม
การแสดงองค์เป็นกษัตริย์แห่งอยุธยาและสยามประเทศ
ขาดรายได้ของแผ่นดิน
ขาดแคลนอาหาร
พลเมืองอดอยาก (ข้าว)
ไม่มีกำลังคน
กระจัดกระจายไปตามศูนย์อำนาจย่อย ๆ
กลายเป็นก๊กเป็นเหล่า แย่งชิงอำนาจกัน
ไม่เป็นศูนย์กลางอีกต่อไป
ความรุ่งเรืองตกไป
ช่างฝีมือนักปราชญ์และบัณฑิต ถุกกวาดต้อนไปกรุงอังวะ
พระสงฆ์กระจัดกระจายตั้งตนเป็นใหญ่
ทั้งพระธรรมวินัยคณะสงฆ์ เกิดความวิปลาสคลาดเคลื่อน